รูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่พบในประเทศไทย

โดย นายธนุตม์ ธรรมพิทักษ์

สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากรปี การศึกษา 2547 ISBN 974 – 464 – 243 – 2 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร

จากความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯที่เป นพระพุทธเจ าแพทย มีอํานาจพ ุทธค ุณในการร ักษาใหมนุษยหายจากโรคภัยไขเจ็บตางๆโดยว ิธีการร ักษานั้นใหอธิฐานจิตแลวนํามือไปล ูบที่องคพระบริเวณที่เจ็บปวยแตวิธีการร ักษาตามความเชื่อนี้เมื่อเวลาผานไปกอใหเกิดความเสียหายแกรูปประต ิมากรรมพระไภษัชยคุรุฯจึงเกิดแนวคิดในการสรางพระกริ่งที่เป นรูปจําลองพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในพิธีกรรมท ําน้ํามนต เพื่อใชรั กษาอาการเจ็บปวยแทนการรูปที่องคพระโดยภายในองคพระใสเม็ดโลหะกลมขนาดเล็กไวเมื่อเขยาองค พระจะเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งและจากเส ียงนี้เองท ี่เปนที่มาของชื่อ “พระกริ่ง” ซึ่งจ ุดกําเนิดของพระกริ่งนั้นคงเริ่มขึ้นชวงพุทธศตวรรษที่ 13 ในประเทศทิเบตจากนั้นความเช ื่อดังกลาวไดเผยแผของสูดินแดนต างๆเช นประเทศจีนแตมีความเช ื่อที่ตางไปคือใชในการปองกันอันตรายขณะเด ินทางเนื่องจากเปนอํานาจพ ุทธคุณที่สําค ัญอีกด านหน ึ่งของพระไภษ ัชยคุรุฯและจากการที่ชาวจีนเปนชาต ิที่มีการติ ดตอคาขายก ับประเทศตางๆอยางกวางขวางโดยเฉพาะในด ินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต พอค าชาวจีนเหลานั้นจึงน ําความเช ื่อเกี่ยวกับพระกริ่งที่ใชพกติดตัวเพื่อป องกันอันตรายเข าสูดินแดนเหล านั้นและเมื่อความเชื่อในการบูชาพระกริ่งได เผยแผเขาสูประเทศไทยในชวงต นกรุงรัตนโกสินทรโดยผานพระสงฆชาวกัมพู ชาที่เขามาศึกษาพระธรรมวินัยในประเทศไทยและมีการพกพระกริ่งเพ ื่อปองกันอันตรายในขณะเดินทางความเชื่อเหลาน ี้จึงแพร หลายมากขึ้นจนเปนที่ยอมรับในสังคมไทยกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณจึงสร างพระกริ่งแบบไทยขึ้นบางและหลังจากม ีการสรางพระกริ่งขึ้นเป นครั้งแรกในประเทศไทยแลวก็มี การสรางพระกริ่งขึ้นตามว ัดตางๆหลายวัดแตวัดท ี่ไดรับการยอมร ับในอ ํานาจพ ุทธคุณมากที่สุดค ือวัดสุทัศนเทพวรารามเนื่องจากมีการสร างพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้อี กอยางต อเนื่องสม่ําเสมอผลการว ิจ ัยพบวา1. การสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกที่มีการกล าววามีการสรางตั้งแตสมัยอยุธยาโดยพระพนรัตเพื่อติดที่พระมาลาเบ ี่ยงของสมเด็จพระนเรศวรนั้นไม สามารถยืนยันขอมูลดังกล าวไดแต หลักฐานการสรางพระกร ิ่งขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยที่ชั ดเจนที่สุดเป นการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นในพ.ศ. 2425 2. ต ําราในการสรางพระกริ่งที่มี การกลาววาไดนําตําราการสร างมาจากประเทศกัมพูชาและส ืบทอดตอก ันมาในสม ัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทรนั้นไมสามารถยืนยันการมีอยูของต ําราดังกลาวได อยางชัดเจน3. ร ูปแบบของพระกริ่งที่สรางข ึ้นในประเทศไทยในครั้งแรกที่กล าววาเปนการถอดรูปแบบมาจากพระกริ่งปทุมของประเทศกัมพูชานั้นมีจุดแตกต างหลายแห งจนไมสามารถยืนยันไดอยางชั ดเจนว าพระกริ่งปวเรศที่สรางข ึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกนั้นไดใช รูปแบบพระกริ่งปทุมมาเปนตนแบบในการสรางจริง4. การสรางพระกริ่งในประเทศไทยตั้งแต เริ่มตนสรางจนถึงปจจุบันสามารถแบงไดเปน 2 กล ุมใหญคือกล ุมที่รักษาร ูปแบบตามที่ปรากฏในอดีตกับกล ุมที่ไมรั กษารูปแบบ

บทที่ 1 บทนําความเปนมาและความสําคัญของปญหา (Statements and significance of the problems) พระพุทธเจ าศากยมุนีไดประกาศและเผยแผศาสนาพุทธขึ้นในประเทศอินเดียเมื่อ 2500 กวาปลวงมาแล วในสมัยพุทธกาลพุทธศาสนิกชนจะทําการเคารพนับถือ“ไตรสรณคมน”เปนหลักไมมีการน ับถื อกราบไหววัตถ ุอื่นใดท ั้งสิ้น1เมื่อพระพุทธองค ใกลดับข ันธปรินิพพานพระองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างสังเวชนียสถานขึ้น 4 แหงเพื่อใหพุทธศาสน ิกชนและพุทธสาวกใชปลงธรรมสังเวชและระลึกถึงพระพุทธองคในตําบลตางๆที่เปนสถานที่ประสูติตรัสร ูปฐมเทศนาและปรินิพพานไมมีการสร างรูปเคารพที่เปนรูปบุคคลเปนเครื่องแสดงแทนพระพุทธองคมีเพ ียงการใช สัญล ักษณแสดงพ ุทธประวัติตอนน ั้นๆคือเม ืองกุสินาราท ี่พระพุทธเจ าเสด็จดับขันธปรินิพพานไดทําเคร ื่องหมายโดยสรางพระสถูปไวที่เม ืองพาราณสีทํารูปเสมาธรรมจักรและกวางหมอบหมายถึงที่ซึ่งพระพ ุทธองคแสดงปฐมเทศนาที่เม ืองพุทธคยาก็คือต นโพธิ์ซึ่งเป นตนไมที่พระพ ุทธองคประทับที่โคนต นเมื่อตรัสร ูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณและท ี่เมืองกบิลพัสดุนั้นเป นรอยพระพ ุทธบาทที่หมายถึงเม ื่อพระองคประสูติได เสด็จพระราชด ําเนินไปในทิศทั้งสี่ทิศละ 7 กาวจนพุทธศตวรรษที่ 6 ชาวอินเดียมีการติดตอก ับชาวกรีกและชาวเปอรเซียมากข ึ้นจึงม ีการสรางพระพุทธร ูปที่เปนรูปบุคคลขึ้นโดยได ตนแบบมาจากประติมากรรมกรีก2เชนพระพ ุทธรูปศิลาในศิลปคันธารราฐที่ปจจ ุบันอย ูที่พิพิธภ ัณฑดาหแลมกร ุงเบอรลิน (รูปท ี่ 1) จุดก ําเนิดของการสรางพระพิมพคงเกิดขึ้นในช วงใกลเคียงก ับการสรางพระพุทธร ูปซึ่งม ีนักว ิชาการใหความเห็นไวคลายๆก ันเชนศาสตราจารยยอรชเซเดสไดอางข อมูลของศาสตราจารยฟูเชรนักปราชญ ชาวฝรั่งเศสว าเม ื่อพุทธศาสนิกชนไดไปนมัสการสังเวชนียสถานท ั้ง4 แหงท ี่พระพุทธองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างขึ้นแตจากการเด ินทางที่เปนไปดวยความลําบาก

2จึงม ีการพิมพรู ปสังเวชนียสถานท ั้ง 4 แห งลงบนผาหรือดินเหนียวเพื่อใชเป นที่ระลึกวาเคยไปนมัสการสถานที่นั้นมาแล วและเมื่อมีการสรางพระพุทธร ูปขึ้นก็คงมีการสรางรูปพระพุทธองคพิมพ ลงบนวัตถุเชนด ินเหนียวเพื่อใชเป นที่ระลึกถึงพระพุทธองคแทนการใชรูปสังเวชนียสถานต างๆ3เห็นไดจากการสรางรูปพระพิมพที่ทําเป นรูปพระพุทธรูปปางแสดงธรรมประทับใตสถูปที่มีลักษณะคลายสถ ูปที่พุทธคยาพบที่อําเภอท ามะกาจังหว ัดกาญจนบุรี (รูปท ี่ 2) สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพไดกลาวถึงกําเนิดการสร างพระพิมพ วาจากการท ี่มีพุทธศาสน ิกชนไปบูชาสังเวชน ียสถานทั้ง 4 แห งที่พระพุทธองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างขึ้นกับสถานที่ที่พระพุทธองคทรงแสดงปาฏิหาริยอีก 4 แหง (ที่แสดงมหาปาฏิหาริยที่ทรมานพระยาวานรที่ทรมานช างนาฬาคิรีและที่เสด็จลงจากสวรรคชั้นดาวด ึงส) ความตองการระลึกถึงการมาสักการะสังเวชน ียสถานเหลาน ั้นจึงได สรางพระพิ มพขึ้นเป นชุดแสดง 8 ปางท ี่ตางก ัน4เพื่อเปนที่ระลึกและเมื่อการสรางรูปเคารพที่เปนรูปบุคคลไดรับการยอมร ับมากข ึ้นการสร างแมพิมพ สะดวกขึ้นมีวั สดุที่ใชในการสร างพระพิมพ ที่คงทนข ึ้นเช นทองแดงหรือหินทําให เกิดการสรางพระพิมพขึ้นอย างแพรหลายและเผยแผอิทธ ิพลดังกลาวส ูดินแดนต างๆเชนในพงศาวดารลังกาทวีปท ี่กลาววาพระเจ าอโศกมหาราชไดสงพระโสณะเถรและพระอุตตรเถรมาประกาศพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิตั้งแต ประมาณพุทธศตวรรษที่ 35แมวาไม มีหล ักฐานทางดานศิลปกรรมทั้งดานสถาปตยกรรมและประติมากรรมที่จะยืนยันขอความในพงศาวดารแตในพ ุทธศตวรรษที่ 11 เปนตนมาเราไดพบหลักฐานทางศิ ลปกรรมที่เกี่ยวของก ับพุทธศาสนาปรากฏขึ้นเชนพระปฐมเจด ียที่จั งหวัดนครปฐมถือว าเปนพระพิมพที่เก าที่สุ ดที่พบในประเทศไทยศาสตราจารยยอรชเซเดสเรียกพระพิมพเหลาน ี้วา”พระพิมพ แบบทวารวดี”6พระพิมพ ที่สร างขึ้นในชวงน ี้มักมีการสล ักคาถาภาษาสันสกฤตที่วา“เยธมมาเหตุ ปปภวาเตส ํเหต ุตถาคโตเตสํจโยนิโรโธจเอวํวาทีมหาสมโณติ.”ที่เป นคํากลาวซึ่งเปนหัวใจของพุทธศาสนาไวด วยเพ ื่อแสดงเหตุสําค ัญอีกประการของการสรางพระพิมพ โดยใชเพื่อสืบศาสนานอกจากการใชเพื่อเปนเครื่องระลึกถ ึงพระพุทธองคสวนการเก็บรักษาพระพ ิมพเหลานี้มักเก ็บไวในสถูปเจดียตางๆซึ่งการเก็บรักษาพระพิมพในเจดียนั้ นเราพบในทุกสม ัยของศิลปะไทยแมวาต ั้งแต ศิลปะลพบ ุรีลงมาจะไม พบการสล ักคาถาเยธมมาก็ตามแตจุดมุงหมายในการสรางพระพิมพ ของไทยก็ยังใช เพื่อสืบศาสนาและระลึกถึงพระพุทธองคนั้นเอง

3ในสมัยตนกรุงรัตนโกส ินทรชวงรัชกาลท ี่ 4 ไดมีการเปล ี่ยนแปลงความเชื่อในสังคมไทยโดยจากในอดีตที่ไมนิยมน ําพระพุทธรูปมาไวในบานก็เร ิ่มนําพระพุทธรูปมาไวในบานมีการสร างหองพระหรือหอพระเพื่อใช เปนที่บูชาและเก ็บรักษาพระพ ุทธรูปและพระพิมพ7อีกทั้งม ีการสรางพระพุทธร ูปขนาดเล็กที่ใชนําต ิดตัวพกพาไปไหนมาไหนระหวางการเดินทางเพื่ออาศัยอํานาจพ ุทธคุณชวยปกปองใหพนจากภย ันตรายซึ่ งพระพุทธรูปขนาดเล็กที่ใชนําต ิดตัวเพ ื่ออาศัยอํานาจพ ุทธคุณชวยปกปองใหพนจากภย ันตรายเหลานี้มักถ ูกเรียกว า“พระเคร ื่องราง” (พระเครื่อง)8ซึ่งมาจากการผนวกความเชื่อระหวางการนับถือการน ับถือเครื่องรางของขลังเขากับพระพุทธรูปหรือพระพิมพ ถือเป นการรวมอํานาจพุทธคุณเขากับอํานาจไสยขาวพระพุทธร ูปที่จัดวาเปนพระเครื่องในชวงแรกนี้มีทั้งท ําจากดินและจากโลหะแตพระท ี่ใชโลหะเป นวัสดุในการสรางและเมื่อเขยาแล วจะมีเสียงด ังกริ้งๆที่เรียกก ันวา“พระกริ่ง” ไดรับการยอมรับและศรัทธาในสังคมมากกวาอาจเนื่องจากรูปแบบของพระกริ่งนั้นคือพระไภษัชยคุรุฯซึ่งสมเด็จกรมพระยาด ํารงราชานุภาพได กลาวไวในหนังสือตํานานพุทธเจด ียวาพระกร ิ่งที่สรางขึ้นทุกองค เปนพระไภษ ัชยคุรุฯทั้งสิ้นและจากความเชื่อที่วาพระไภษ ัชยคุรุฯนั้นมีอํานาจพ ุทธคุณทําให ผูที่บูชาหายจากความเจ็บปวยทั้งหลายและพนจากภัยอันตรายตางๆดังน ั้นการสรางพระกริ่งที่เปนพระไภษั ชยคุรุฯขนาดเล็กขึ้นเพ ื่ออาศัยบารมีของพระไภษัชยคุรุฯนี้ชวยขจ ัดภยันตรายตางๆและใหผูที่พกพาต ิดตัวระหว างเดินทางปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวงจึงน าจะเปนมูลเหตุที่สําค ัญในการนับถือพระกริ่งเปนเสมือนเครื่องรางและนําติดตัวนอกจากนั้นพระกริ่งท ี่พบในประเทศไทยในชวงแรกน ี้มักไดมาจากพระสงฆเขมรซึ่งในความค ิดของคนไทยส วนใหญเชื่อว าชาวเขมรเปนชนชาติที่เก งและเชี่ยวชาญเรื่องคาถาอาคมดังน ั้นการสรางพระกร ิ่งก็คงมีการลงคาถาอาคมเพื่อใหผูที่บูชาได รับโชคลาภและปราศจากทุกภัยซึ่งน าจะเป นจุดเริ่มในการลงคาถาอาคมในพระพิมพเกิดความเชื่อถือในการบูชาแบบพระเครื่องขึ้นในประเทศไทยความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา (Goal and objective) 1. ศึกษาถึงจ ุดเริ่มตนในการสรางพระกริ่งทั้งดานรูปแบบและความเชื่อ2. ศึกษาร ูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่พบในประเทศตางๆที่มีผลตอการสรางพระกริ่งในประเทศไทย 3. ศึกษาร ูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่มีมาในอดีตจนถึงปจจุบันในประเทศไทย

สมมติฐานของการศึกษา (Hypothesis to be tested) 1. การเกิดพุทธศาสนาฝ ายมหายานลัทธิตันตระเป นมูลเหตุสําค ัญในการเปลี่ยนแปลงความเชื่อในการสรางพระพิมพ และพระเคร ื่องที่แตเด ิมใชระลึกถึงพระพุทธเจาหรือสืบศาสนามาเปนการสรางเพื่อใช เปนเครื่องรางของขลังหรือวัตถุมงคลที่มีอํานาจศ ักดิ์สิ ทธิ์ตางๆ2. ความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่สามารถช วยใหสัตว โลกพนจากภ ัยพิบัติตางๆนําไปส ูการสรางพระกริ่งและอาจเปนมูลเหตุสําค ัญที่กอให เกิดการเปลี่ยนแปลงจุดมุงหมายในการสรางพระพิมพ มาเปนการสร างพระเครื่องข ึ้นเพื่อพกติ ดตัวและใชปองก ันอันตราย3 จุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยนั้นไดรับความเช ื่อและรูปแบบมาจากการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชาขอบเขตของการศึกษา (Scope or delimitation of the study) 1. ศึกษารูปแบบและความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่เป นตนกําเนิดของการสรางพระกริ่งในดินแดนตางๆว ามีผลตอการสรางพระกริ่งเชนไร2. ศึกษารูปแบบทางศิลปะและความเชื่อในการน ับถือพระกร ิ่งในดินแดนตางๆวาม ีรูปแบบและความเชื่อเชนไรสงผลต อการสรางพระกริ่งในประเทศไทยอยางไร3. ศึกษารูปแบบทางศิลปะและความเชื่อในการน ับถือพระกร ิ่งของประเทศไทยตั้ งแตเริ่มตนจนถึงป จจุบันขั้นตอนของการศึกษา (Process of the study) 1. เก็บขอมูลจากเอกสารต างๆที่มีผูทําการศ ึกษาไวในเรื่องราวที่เก ี่ยวกับการเกิ ดลัทธิและความเชื่อทางศาสนาความเชื่อและการบูชาเครื่องรางของขลังพระพิมพ พระเครื่องและพระกริ่งจากหองสมุดทั้งสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน2 เก็บขอมูลดานรูปแบบของเครื่องรางของขลังพระพิมพพระเครื่องและพระกริ่งจากพิพิธภ ัณฑสถานตางๆทั้งของร ัฐบาลและเอกชนในประเทศไทย3. เก็บขอมูลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานพระเครื่องประชาชนทั่วไปในสายอาชีพตางๆเพ ื่อเขาใจถึงแนวค ิดของความเช ื่อในการนับถือพระเคร ื่องและพระพิมพของคนในยุคปจจุบัน4. นําข อมูลที่ไดมาวิเคราะหสรุปผลหามูลเหตุในการน ับถือพระกริ่งคําจําก ัดความในการศึกษา (Definition) 1. “พระพิมพ ” หมายถึงพระบูชาขนาดเล็กที่สรางกันมาแตอดีตซึ่งม ักสรางขึ้นเพื่อเปนที่ระล ึกแทนพระพุทธองคหรือใชบรรจ ุในเจดีย เพื่อสืบศาสนา2. “พระเครื่อง” หมายถึงพระบูชาขนาดเล็กที่สร างขึ้นมาเพื่อจุดมุงหมายท ี่ใหใชพกต ิดตัวหร ือบูชาเพื่อใหเกิดอํานาจพุทธคุณในการปองกันอันตรายเกิดโชคลาภ

บทที่ 2 การเกิดพระกร ิ่งประวัติการเกิดพระไภษัชยคุรุตนกําเน ิดพระกริ่ง1. หล ักฐานที่ปรากฏในคัมภีรเมื่อพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียแบงเปนฝายเหนือและฝ ายใตพระเจากนิษกะกษัตริยราชวงศ กุษาณะปกครองตอนเหนือของประเทศอินเดียไดจั ดใหมีการประชุมพระสงฆฝายเหนือพรอมทําสังคยานาพระธรรมวินัย (ครั้งที่4) ขึ้นท ี่เมืองบุรุษบุรีเม ื่อพ.ศ.6249และโปรดใหบัญญ ัติพระธรรมว ินัยท ี่สังคยานาข ึ้นใหมเปนภาษาสันสกฤตโดยมีพระว ินัยบางขอท ี่เปลี่ยนแปลงไปเกิดพระไตรป ฎกที่แตกตางและเกิดพุทธศาสนามหายานซึ่งพระเจ ากนิษกะนั้นนับถือและเป นศาสนูปถัมภกในพ ุทธศาสนานิกายมหายานพระองคจึงบ ํารุงและเผยแผ พุทธศาสนาน ิกายนี้ออกสูดินแดนต างๆแตในสวนของคัมภีรตางๆท ี่กลาวถึงเรื่องราวเกี่ ยวกับการบ ูชาพระไภษัชยคุรุฯนั้นตามคัมภีรตางๆของพ ุทธศาสนาฝายหินยานไมมีการกล าวถ ึงเรื่องราวด ังกลาวเลย10สวนในค ัมภีรมหายานลลิตวิสระมีขอความสรรเสริญพระพุทธเจาแพทยผูสามารถปลดเปลื้องความเจ็บปวดและความทุกขทรมานของมนุษยโดยในอัธยายที่ 1 ชื่อน ิทานปริวรรตไดบรรยายวา11“พระองค เปนแพทยประทานยาค ืออมฤตพระองคกลาในการตรัสเจรจาแสดงลัทธิทําใหพวกมิจฉาทิฐิเรารอนไปตามก ันพระองคเปนพงศพันธุแห งพระธรรมทรงปราชญเปรื่องในปรมัตถธรรมพระองคเปนผูนําเป นผูชี้ ทางไมมีใครย ิ่งไปกวา” ซึ่งการกล าวถึงพระพุทธเจาแพทยนั้นสวนใหญ จะหมายถึงพระไภษัชยคุรุฯแตก็ไม ใชหล ักฐานที่ชัดเจนว าเปนเรื่องราวที่เก ี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯเน ื่องจากไมไดมีการกลาวพระนามไวอยางชัดเจนเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่ปรากฏในคัมภีรที่ชัดเจนท ี่สุดคงเปนเรื่องท ี่ปรากฏในพระสูตรสันสกฤตสูตรหนึ่งชื่อ“พระพุทธไภษัชยค ุรุไวฑ ูรยประภาราชามูลปณิธานสูตร”แปลเปนภาษาจีนในราวพุทธศตวรรษที่ 10 มีขอความว า1

“สม ัยหนึ่งพระผ ูมีพระภาคเจ าพระศากยมุนีพุทธเสด ็จประท ับณกร ุงเวสาลีสุขโฆสว ิหารพรอมดวยพระมหาสาวก 8,000 องคพระโพธิสัตว มหาสัตว 36,000 องค และพระราชาธิบดีเสนาอํามาตยตลอดจนปวงเทพพระมัญช ุศรีผูธรรมราชาบุตรอาศัยพระพุทธาภ ินิหาริยลุกขึ้นจากท ี่ประทับท ําจีวรเฉวียงบาข างหนึ่งคุกพระชาณ ุกับแผนด ินณเบื้องพระพักตรของสมเด็จพระโลกนาถเจาประคองอัญชลีกราบท ูลขึ้นวา “ขาแต พระผูมีพระภาคเจาขอพระองคโปรดประทานพระธรรมเทศนาพระพุทธนามและมหามูลปณ ิธานและคุณวิเศษอันโอฬารแหงปวงพระส ัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลายเพ ื่อยังผูสด ับธรรมกถานี้ไดรับประโยชนบรรลุถึงสุขภ ูมิ์” พระบรมศาสดาทรงรับอาราธนาของพระมัญชุศรีโพธิสัตว แลวจึงทรงแสดงพระเกียรติคุณของพระไภษัชยค ุรุพุทธเจ าวา “ดูกอนก ุลบุตรจากที่นี้ไปทางท ิศตะวันออกผานโลกธาต ุอันม ีจํานวนด ุจเม็ดทรายในคงคานที 10 นทีรวมกันณที่นั้นมีโลกธาตุหนึ่งนามวาวิสุทธ ิไพฑูรยโลกธาต ุณโลกธาตุนั้นมีพระพุทธเจ าพระนามวาไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตพระองคถึงพร อมดวยพระภาคเป นพระอรหันตเปนผูตรัสรูดีชอบแลวด วยพระองคเองเป นผูสมบูรณดวยว ิชาและจรณะเปนผูเสด็จไปดีแลวเปนผูรูแจ งโลกเป นผูยอดเยี่ยมไมมีใครเปร ียบเปนนายสารถีฝกบุรุษเปนศาสดาแหงเทวดาและมนุษยเปนผูเบิกบานแลวเป นผูจําแนกธรรมกลาวสอนสัตวดูกอนม ัญชุศรีณเบื้องอดีตภาคเมื่อพระตถาคตเจาพระองคนี้ยังเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว บําเพ ็ญบารมีอยูพระองคทรงตั้งมหาปณิธาน 12 ประการเพ ื่อยังความตองการแหงสรรพสัตวใหบรรลุ” โดยคําปณิธานทั้ง 12 ขอของพระไภษัชยคุรุฯนั้นมีดังน ี้131. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขอใหกายของขาฯมีรัศม ีรุงเรืองด ุจเปลวไฟสองแสงออกไปสูบริเวณท ั้งหลายโดยปราศจากขอบเขตจํากัดพรอมดวยพุทธลักษณะสําคัญ 32 ประการและลักษณะวิเศษประกอบอ ีก 80 ประการเมื่อนั้นขาฯจะยังใหสรรพสัตวทั้งหลายต ั้งอยูในความเสมอภาคเชนเดียวกับขาฯ2. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณกายของขาฯจะทอแสงดุ จมณีสีฟาอันปราศจากมลทินทั้งภายในและภายนอกเปลงแสงออกไปไกลแสนไกลทรงไวซึ่งค ุณธรรมอันยิ่งใหญประท ับอยางสงบมีรัศม ีสวางกวาพระจันทรและพระอาทิตยขาฯจะเป นผูนํ าปญญาสูสรรพสัตว ผูยังข องอยูในกิเลสเพื่อเขาจะไดดําเน ินชีวิ ตอยางอิสระตามปณิธานของแตละบุคล

73. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณดวยอ ํานาจแห งปญญาอันหาขอบเขตมิไดขาฯจะชวยสรรพสัตวทั้งปวงให พนจากความยากจนโดยจะไมมีวั นปราศจากสิ่งที่ตองประสงค ทั้งปวง4. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขาฯจะนําสรรพสัตวทั้งหลายท ี่เดินทางผิดใหหั นกลับสูแนวปฏิบัติเพ ื่อสัมมาส ัมโพธิญาณรวมทั้งการนําผูปฏิบัติตามสาวกยานและป จเจกพุทธยานใหหั นมาปฏิบัติตามแนวมหายาน5. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขาฯจะนําสรรพสัตวอันม ีประมาณไม ไดผูซึ่งประพฤต ิปฎิบัติตามพรหมจรรยตามค ําสอนของขาฯไปสูความบริสุทธ ิ์หมดจดถึงที่สุดทั้ งในเบื้องตนทามกลางและบั้นปลายแมบางคนอาจยอหยอนท อถอยขอใหเขาเหลานั้นสูความบร ิสุทธ ิ์ทันท ีที่ได ยินพระนามของขาฯโดยจะไมตกไปสูอบายภูมิทั้งสาม6. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวมวลมน ุษยผูออนแอพิการง อยเปลี้ยเส ียขามีรูปร างหนาตานาเกลียดโงเขลาตาบอดหู หนวกมือลีบเทาลีบหลังคอมเปนขี้เร ื้อนกุฎฐังสติฟนเฟ อนและมีโรคภัยตางๆจงหายกลับคืนสูอาการปกติทั้งทางกายและใจทันท ีที่ได ยิ นพระนามของขาฯอวัยวะทุ กสวนของรางกายจงกลับค ืนสูภาวะสมบูรณโรคร ายทั้งหลายจะหายสิ้นเปนปกติ7. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวสรรพสัตวผูทนท ุกข ทรมานอยูด วยอาการปวยไขทั้งปวงบุคคลอนาถาไรญาติขาดที่พึ่งปราศจากแพทยหรือยารั กษาโรคไรที่พักพิงคนยากจนทั้งหลายเหลาน ี้จงหายจากโรคภัยทั้งปวงประสบสุขทั้งกายและใจถึงพรอมซ ึ่งญาติมิตรและโภคสมบัติและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณในที่สุด8. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวหญิงผูใดต องทนทุกข ทรมานจนถึงที่สุดบังเก ิดความเบื่อหนายต องการทําลายชีวิตต ัวเองไมอยากอยู เปนหญิงตอไปเมื่อไดยินพระนามของขาฯขอหญิงน ั้นไดไปเกิดเปนชายมีอว ัยวะรางกายเปนชายโดยสมบูรณและบรรลุอน ุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป นที่สุด9. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวขาฯจะช วยสรรพสัตว ทั้งปวงให พนจากบ วงมารหลุดพนจากความเห็นผิดทั้ งปวงหากผูใดยึดมั่นในค ําสอนที่เปนอวิชชาขาฯจะชวยให เขาพนจากความหลงผิดและชวยให เกิดความเชื่อมั่นในหลักสัจธรรมและนําไปสูการดําเนินชีวิตตามแนวโพธิสัตว มิช ามินานจะไดบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ

10. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณขาฯจะช วยพวกเขาทั้งหลายผ ูถูกโทษจองจ ําถูกผ ูกมัดถูกเฆ ี่ยนตีดวยหวายถูกจองจ ําดวยโซตรวนในคุกผูตองโทษหน ักหรือทนทุกขทรมานในความดุดันท ั้งทางกายและใจตองไดรับความเจ็บปวดมนุษยทั้งหลายเหล านี้เมื่อไดยินพระนามของขาฯจงเปนอิสระจากความทรมานทั้งปวงด วยอํานาจแหงค ุณธรรมอันประเสริฐของขาฯ11. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณแลวขาฯจะช วยสรรพสัตว ทั้งปวงผูตองทนท ุกขทรมานด วยความอดอยากหิวกระหายหรือผูที่ตองหาเลี้ยงชีพด วยกรรมชั่วคนท ั้งปวงเหลานี้ถาต ั้งใจระลึกถึงพระนามของขาฯด วยความยึดมั่นจะเปนผูที่เพ ียบพรอมด วยอาหารและเครื่องดื่มทิพยขาฯจะใหพวกเขาไดลิ้มรสพระธรรมเปนผูพรอมดวยความส ุขปราศจากท ุกขทั้งปวง12. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวมวลมนุษยผูยากไรอนาถาปราศจากเครื่องนุงหมไดรับความท ุกขทรมานจากยุงและแมลงวันทนทุกขอย ูในความหนาวรอนบุคคลเหล านี้เมื่อไดยินพระนามของขาฯจดจําดวยความยึดมั่นก็ จะไดรับเส ื้อผาแพรพรรณเครื่องประดับตกแตงและเครื่องประทินทั้งหลายหอมลอมด วยเสียงประโคมดนตรีปรารถนาสิ่งใดใหไดสิ่งน ั้นสมปรารถนาทุกประการสวนในประเทศจีนไดมีการกลาวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯว าพระถังซําจ ั๋งไดนําค ัมภีรชื่อ“ไภสัชยาคุรุ ไวฑูรยประภาตถาคตสูตร”ซึ่งเป นคัมภีรที่เก ี่ยวกับวิธีการบ ูชาพระ-ไภษัชยค ุรุฯเพื่อทําใหผูที่เจ ็บปวยหายจากโรคตางๆกล ับมาจากประเทศอินเดียราวพ.ศ. 115814สวนในประเทศทิเบตก็มีการกลาวว าราวพุทธศตวรรษที่ 13 กษัตริยถิสรองเดตสันไดเชิญท านคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียมาเผยแผ พุทธศาสนานิกายมหายานต ันตระพรอมนํารูปเคารพซึ่งเชื่อกันวาเปนรูปเคารพพระไภษัชยค ุรุฯจากประเทศอินเดียมาเปนตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบต15จากขอมูลที่ปรากฏในคัมภีรที่กล าวถึงในขางตนเปนหลักฐานที่ยืนย ันวามีเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯที่นับถือก ันในฐานะพระพุทธเจาแพทยไดเกิดขึ้นจริงและน าจะเกิดขึ้นคร ั้งแรกในประเทศอินเดียจากการกลาวถึงคัมภีรตางๆท ี่เกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯมักกลาวว าไดนําคัมภ ีรและความเช ื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯมาจากประเทศอินเดียจากน ั้นก็ไดเจริญแพรหลายสูประเทศตางๆเชนประเทศทิเบตประเทศจ ีน

2. หล ักฐานทางศิลปกรรมรูปเคารพเป นหลักฐานที่สําคัญในการยื นยันความเชื่อเกี่ยวกับไภษัชยคุรุฯวาม ีอยูจริงซึ่งการม ีแตเรื่องราวที่ปรากฏในคัมภีรนั้นเราไมสามารถกําหนดไดวาความเชื่อเหลานั้นเกิดขึ้นตามท ี่มีการกล าวอางหรือเปนการเข ียนเพิ่มเติมขึ้นในชั้นหลังการพบรูปเคารพจึงเปนสิ่งท ี่ช วยยืนยันประเทศอินเดียเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่มีการกล าวถึงในประเทศอินเดียนั้นเปนการกลาวขึ้นเฉพาะในคั มภีรเท านั้นเน ื่องจากในปจจุบันน ี้ยังไม เคยพบร ูปเคารพของพระไภษัชยคุรุฯเลย16จึงไมสามารถบอกรูปแบบที่แท จริงของพระไภษัชยค ุรุฯได แตหากเช ื่อตามตํานานที่วาท านคุรุป ทมสมภพไดนํารูปแบบพระไภษัชยคุรุฯของอินเดียมาเป นตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตดังน ั้นหากมีการสรางพระไภษัชยค ุรุฯขึ้นในประเทศอินเดียจริงรูปแบบก ็คงมีความใกลเคียงก ับพระไภษัชยค ุรุฯของท ิเบตคือเป นประติมากรรมลอยตัวประทับนั่งขัดสมาธิเพชรพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําหรือบาตรทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไมสวมเครื่องประดับประเทศทิเบตตามตํานานกลาววาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยอินเด ียไดนํารูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯจากประเทศอินเดียมาเป นตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตและพระไภษั ชยคุรุฯมีพระนามเปนภาษาทิเบตวา“มันลา”(Manla)แปลวาโอสถวิเศษ17ซึ่งข อมูลดังกลาวเป นสิ่งช วยยืนยันการนับถือพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยนอกจากนั้นยังพบพบประติมากรรมพระไภษัชยคุรุฯในประเทศนี้ (รู ปที่ 3) ยิ่งเป นหลักฐานช วยยืนยันการมีอยูจริงของความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯพุทธล ักษณะของพระไภษัชยคุรุฯของประเทศนี้นั้นเปนประติมากรรมลอยตัวประทับขัดสมาธิเพชรพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําหรื อบาตรพระหั ตถขวาแสดงปางมารวิชัยทรงเครื่องทรงอยางนักบวชประเทศจีนจากการนําค ัมภีร “ไภสัชยาคุรุไวฑ ูรยประภาตถาคตสูตร” มาแปลเปนภาษาจีนในชวงพุทธศตวรรษที่ 12 หร ือ(ราชวงศสุย) แตไมมีหล ักฐานการสรางประติมากรรมรูปเคารพจนสมัยราชวงศถังพระไภษ ัชยคุรุฯไดรับยกย องเสม ือนพระศากยม ุนี18จึงม ีการสรางวัดและรูปเคารพของพระองคทานประด ิษฐานแทนพระศากยมุนีโดยทําเป นประติมากรรมยืนบนดอกบ ัวพระหัตถขวาแสดงปางประทานพรพระหัตถซายถ ือหมอยาครองจีวรหมคลุม (รู ปที่ 4) ถาเป นประติมากรรมนั่งมักสร างพรอมบริวาร 2 องค คือพระโพธิสัตวสุริยประภาก ับพระโพธิสัตว จันทรประภา

ประเทศญี่ปุนเปนอีกประเท ศมีความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทย โดยกลาววากษัตริยเตนม ู (Tenmu) ซึ่งปกครองประเทศญี่ปุนราวพ.ศ. 1216 -122919ได สรางวัดเพื่อถวายแดพระไภษัชยค ุรุฯพรอมกับสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯโดยมีพุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวพระหัตถขวาแสดงปางประทานพรหรือประทานอภัยพระห ัตถซายถ ือหมอยาครองจีวรหมคลุม (รูปท ี่ 6) ขณะเด ียวกันมักสรางบริวาร 2 องค คื อพระโพธิสัตว สุริยประภาก ับพระโพธิสัตว จันทรประภาประกอบดวยเสมอขึ้นซึ่งก ็เปนหลักฐานที่ชวยย ืนยันความเช ื่อดังกล าวประเทศกัมพูชาแมพุทธศาสนาฝายมหายานไดเขาสูประเทศกัมพูชาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 15 แลวก็ ตาม20แตไม มีหลักฐานแสดงวามีการสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯเลยจนราวพุทธศตวรรษที่ 18 สมัยกษัตริยชั ยวรมันที่ 7 เราไดพบจารึกที่มีการกล าวถึงการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯเชนจาร ึกปราสาทตาพรหมจารึกปราสาทตาเมือนรวมถึงการท ี่กษัตริยชั ยวรมันที่ 7 โปรดใหใหสรางอโรคยศาลาขึ้นในเสนทางเดินทางตางๆราว 102 แห งซึ่งในอโรคยศาลานั้นใชเป นที่ประดิษฐานพระไภษัชยค ุรุฯโดยพระไภษัชยคุรุฯในประเทศนี้มีพุทธล ักษณะคลายพระพุทธรูปนาคปรกคือเป นประต ิมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิบนขนดนาคบนฝาพระห ัตถมีวัตถ ุทรงกรวยหรือวัชระอย ู (รูปท ี่ 7) จากหลักฐานท ี่กลาวถึงขางตนทั้งดานเอกสารที่มีคํากลาวหร ือบทสวดสรรเสริญที่ปรากฏอยูในคัมภีรฝายมหายานตางๆและหลักฐานที่เปนประติมากรรมรูปเคารพรวมถึงอาคารที่มีการสรางขึ้นโดยเฉพาะเพื่อใชประดิษฐานพระไภษัชยคุรุฯซึ่งเม ื่อกลาวโดยรวมแลวคงสรุปไดวาความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯคงเกิดข ึ้นในประเทศอินเดียกอนราวชวงพุ ทธศตวรรษที่ 10 แตเนื่องจากคนอินเดียนับถือพระโพธ ิสัตว อวโลกิเตศวรในฐานะพระพ ุทธองคผูดูแลและปกป องมนุษยอยูแลวจึงท ําให ความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯไมเปนที่ยอมรับและไมไดรับศร ัทธามากนักแตเม ื่อพุทธศาสนาฝายมหายานมีแนวคิดความเชื่อที่เปนนิกายใหมที่เรี ยกวานิกายตันตระซึ่งได เผยแผสูประเทศท ิเบตเขาไปรวมกับความเชื่อพื้นเมืองเดิมจนเป นที่ยอมรับในราวพุทธศตวรรษที่ 13-14กอให เกิดการนับถืออย างกวางขวางจนมีการสรางรูปเคารพขึ้นเพื่อใช กราบไหวบูชาและเมื่อความเชื่อเก ี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯน ี้ไดรับศร ัทธามากขึ้นอยางมากมายความเช ื่อดังกลาวก ็ไดเผยแผสูประเทศจีนและญี่ปุนตามลําด ับในราวพุทธศตวรรษที่ 15 และจากการที่มีการต ิดต อคาขายระหวางประเทศจีนกับดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใตพอคาชาวจีนจึงนําความเชื่อดังกลาวก ็ไดเขาส ูประเทศกัมพูชาราวพุทธศตวรรษที่ 18 กอนเผยแผ เขาสู ประเทศไทยในชวงเวลาใกล

ประวัติการเกิดพระกริ่งพระกริ่งคือพระพุทธรูปขนาดเล็กรูปแบบขององค พระโดยทั่วไปคือเปนพระพุทธรูปประทับบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะเพ ียงดานหนาพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายวางบนพระเพลาบนฝาพระห ัตถมีหมอยาหรือผลไมที่เป นยาวางไวซึ่งพ ุทธลักษณะมีความใกลเคี ยงก ับพระไภษัชยค ุรุฯจนทําใหนักว ิชาการสรุปวาพระกริ่งทุกองคคือพระไภษ ัชยคุรุฯ21ประเทศอินเดียตามที่กลาวมาแลวในตอนตนวาเรายังไมเคยพบรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯในประเทศน ี้เลยดังน ั้นเราก็ยังไม พบหลักฐานประติมากรรมพระกริ่งดวยเชนกันมีเพ ียงคํากล าวอางในเร ื่องราวเกี่ยวกับคัมภีรพระไภษ ัชยคุรุฯหรือการกลาวอางถึงการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตนั้นได ใชรูปแบบทางศิลปกรรมของพระไภษัชยคุรุฯจากประเทศอินเดียเป นตนแบบแตจากการที่เราไมพบรูปเคารพในประเทศนี้ก็ทําให ไมสามารถกลาวไดอยางชัดเจนวามีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศน ี้ประเทศทิเบตจากขอมูลที่กลาวไวในตํานานเกี่ยวกับการเผยแผพุทธศาสนาของประเทศทิเบตวาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียไดนําพ ุทธศาสนามหายานนิกายตันตระและความเชื่อซึ่งเก ี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯเข าไปเผยแผในทิเบตราวพ.ศ. 129022ซึ่งพระไภษ ัชยคุรุฯในท ิเบตนั้นมีพระนามวา“มันลา” (Manla) แปลวาโอสถวิเศษแสดงให เห็นความเช ื่อในการนับถือพระไภษ ัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจ าแพทยอยางชัดเจนโดยอ ํานาจพุทธคุณของพระองคนั้ นสามารถชวยเหลือและรักษาเหลาสรรพสัตวใหหายจากโรคร ายตางๆไดโดยถาผูบูชาเจ ็บปวยรางกายตรงไหนก็ใหเอามือไปลูบพระไภษัชยคุรุฯที่ตรงน ั้นเช นเจ็บที่ตาก็ใหลูบท ี่พระเนตรเปนตน23แตวิธีนี้ได ทําให องคพระชํารุดและสึกกรอนจากการลูบของผูที่มาร ับการรักษาจึงม ีการคิดสรางพระไภษัชยค ุรุฯขนาดเล ็กที่เรี ยกวา“พระกร ิ่ง” ขึ้นเพ ื่อใช แชในน้ําเพื่อใหน้ําน ั้นเปนน้ําศักดิ์สิทธ ิ์ใหผูที่ไม สบายไดอธิฐานจ ิตแลวดื่มน ้ําแทนการลูบที่องคพระก็จะท ําใหผูเจ ็บปวยหายจากความไมสบายตางๆและเพ ื่อใหพระไภษัชยคุรุฯขนาดเล็กที่สร างขึ้นถึงพรอมด วยพุทธภาวะอันสมบูรณจึงได สรางผลโลหะขึ้นแลวประจุลงภายในองคพระจนอาจารย ในพิธีอุทานออกมาวา”กึงกุสโล” ซึ่งสมเด ็จพระส ังฆราชแพติสสเทวเปนพระสงฆผูมีความร ูและความเช ี่ยวชาญในการสรางพระกริ่งในประเทศไทยได รับส ั่งถึงความหมายของคําวา”กึงกุสโล”นั้นเปนรากของคําวา“กร ิ่ง”24ซึ่งเป นที่มาของชื่อที่เรียกกันวา”พระกร ิ่ง”

นอกจากนั้นในประเทศทิเบตนี้เรายังพบหลักฐานทางศิ ลปกรรมทําเปนประติมากรรมลอยตัวองคพระพุทธร ูปประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายพระหัตถขวาแสดงปางมาวิชัยพระหัตถซายวางบนพระเพลามีวัตถ ุทรงกลมวางบนฝาพระห ัตถซึ่งลักษณะด ังกลาวตรงกับพุทธ-ลักษณะของพระกริ่ง (รูปท ี่ 8) และแสดงถ ึงอิทธ ิพลของศิลปะแบบปาละของอินเดียจากขอมูลดังกลาวทั้งดานเอกสารและงานศิลปกรรมจึงเปนเครื่องยืนยันวาในประเทศทิเบตนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับพระกร ิ่งเกิดขึ้นแน นอนและเกิดขึ้นหล ังจากทานคุรุปทมสมภพไดนําความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯเข าไปเผยแผในทิเบตแลวในปพ.ศ. 1290 ดังน ั้นจุดกําเนิดการสรางพระกริ่งในประเทศนี้คงอยูในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 13 ถึงต นพุทธศตวรรษที่ 14 คือหล ังจากที่ความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯไดเขาสู ประเทศทิเบตและเปนที่ยอมรับแลวนั่นเองประเทศจีนจากขอมูลที่กลาวถึงการนับถือพระไภษัชยคุรุฯไดเขาส ูประเทศจีนตั้งแตสมัยราชวงศสุยราวพ.ศ. 1158 และไดรั บยกยองสูงสุดในสม ัยราชวงศ ถัง (พ.ศ.1161 – 1450)25และในช วงเวลานี้เองไดเก ิดแนวคิดการสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกโดยส วนหนึ่งอาจไดรับอิทธ ิพลมาจากประเทศทิเบตเนื่องจากในประเทศจีนก็มีความเช ื่อในเรื่องอํานาจพุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯว าสามารถชวยร ักษาคนเจ็บปวยไดจากการลูบที่องคพระซึ่งการท ําดังกลาวคงท ําใหเกิดความชํารุดเสียหายที่องคพระจึงเก ิดแนวคิดสรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมเช นเดียวกับในประเทศทิเบตดังน ั้นการสรางพระกร ิ่งขึ้นในประเทศจีนนั้นคงสรางขึ้นหลังจากที่พระไภษัชยคุรุฯได รับการยกยองว าเปนเสมือนพระพุทธเจาหรือพระศากยมุนีคือม ีอายุไมเกาไปกวาพุทธศตวรรษที่ 14 ประเทศกัมพูชาพุทธศาสนาแบบมหายานไดเขาสูประเทศกัมพูชาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 1526แตไม ไดมีการกลาวถึงพระไภษัชยคุรุฯเลยอาจเนื่องจากพุทธศาสนามหายานนับถือพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรเปนพระผูดู แลและปกปองมนุษยใหพนจากภัยพิบัติ27อยูแลวความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯจึงไม เปนที่ศรัทธาและไดรับการนับถือแตหล ักฐานเกี่ยวกับพระกริ่งนั้นมีการพบพระกริ่งที่เรียกวาพระกริ่งบาเก็งอยูบนยอดเขาพนมบาเก็งที่สรางขึ้นชวงกลางพ ุทธศตวรรษที่ 15 แตเน ื่องจากพระกริ่งเหลานั้นไมมีหลักฐานที่ชัดเจนท ี่สามารถระบุไดวาเป นพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศนี้อีกทั้งความเชื่อเก ี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯก ็ยังไม ปรากฏข ึ้นอยางชัดเจนและพุทธลักษณะของพระกริ่งที่พบนี้

คลายก ับพระกริ่งใหญของจ ีนนักว ิชาการหลายทานเชนสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพจึงสันน ิษฐานวาพระกริ่งที่พบบนเขาพนมบาเก็งนั้นอาจเปนของที่นําเข ามาจากเมืองจีน28จนถึงสม ัยกษัตริยชัยวรมันที่ 7 ราวพุทธศตวรรษที่ 18 เราไดพบจารึกหลายหลักท ี่มีการกลาวถึงการบูชาพระไภษัชยคุรุฯเชนจาร ึกปราสาทตาพรหมจารึ กปราสาทตาเมือนและในช วงเวลาดังกลาวได มีการสร างพระกริ่งที่เรียกวา“พระกร ิ่งตั๊กแตน”ขึ้นซึ่งอาจเป นพระกร ิ่งแบบแรกที่ชางเขมรสร างขึ้นตามแนวคิดของชางเขมรตามความเชื่อในศาสนาพราหมณดังน ั้นการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชานี้หากเรายังไม สามารถพิสูจน ถึงแหล งที่สรางพระกริ่งที่พบบนเขาพนมพนมบาเก็งไดวาสร างจากที่ไหนก็คงเป นไปไดวาพระกร ิ่งที่พบในชวงแรกในประเทศนี้คงเปนของที่นําเข ามาจากประเทศจีนตามท ี่สมเด็จกรมพระยาด ํารงราชานุภาพทรงแสดงพระราชวินิจฉั ยไวสวนความเชื่ อในการนับถื อพระกริ่งและพระไภษัชยคุรุฯคงได เผยแผเขาสูประเทศก ัมพูชาในราวพุทธศตวรรษที่ 17 และเปนที่ยอมรับในท ี่สุดจนกษ ัตริยเขมรพระนามวาพระเจาปทุมสุริยวงศ29ไดโปรดใหสรางพระกริ่งขึ้นบางโดยอาศัยร ูปแบบพระกริ่งจีนเปนตนแบบพระกริ่งที่สรางขึ้นนี้ถูกเรียกว าพระกริ่งพระปทุมเมื่อพระกริ่งพระปทุมไดรับศร ัทธาจากชาวกัมพูชาแลวศาสนาพราหมณก็ เกิดแนวคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางที่มีลักษณะเฉพาะเรียกวาพระกริ่งตั๊กแตนจากขอมูลที่กลาวมาในขางตนเราคงสรุปถึงจุดกําเนิดของพระกริ่งไดวาเป นรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯที่ทําให มีขนาดเล ็กลงเพ ื่อใชในการท ําพิธีกรรมในการทําน้ํามนตหรือน้ําศักด ิ์สิทธ ิ์เพ ื่อใชรักษาอาการเจ็บปวยตางๆแทนการล ูบที่องคพระไภษัชยคุรุฯหรือใชพกต ิดตัวขณะเดินทางเพื่อปองกันอันตรายโดยจุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งเทาที่พบหลักฐานทางศิลปกรรมในป จจุบันน ี้คงกลาวไดวาเก ิดขึ้ นที่ประเทศทิเบตเปนแหงแรกในความเชื่อของพุทธศาสนามหายานแบบตันตระราวพุทธปลายศตวรรษที่ 13 พุทธศตวรรษที่ 14 จากน ั้นก็ไดเผยแผความเชื่อเหลานั้นเขาสูประเทศจ ีนราวพ ุทธศตวรรษที่ 14 – 15 สวนในประเทศกัมพูชาแมจะพบรูปประต ิมากรรมของพระกริ่งตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 15 แล วก็ตามแตเน ื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯยังไม ปรากฏชัดเจนดังน ั้นรูปประติมากรรมพระกริ่งที่พบชวงแรกคงเปนของท ี่นําเข ามาจากประเทศจีนจนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ 17 จึงม ีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศกัมพูชาเรียกวาพระกริ่งพระปทุมและจากการสรางพระกริ่งพระปทุมนี้เองที่นํ าไปสูความเชื่อในการนับถือและสรางพระกริ่งในประเทศไทยซึ่งจะกลาวถึงในบทที่ 4 ตอไป

บทที่ 3 รูปแบบและความเชื่อในการนับถือพระกริ่งในประเทศตางๆรูปแบบและความเชื่อในการนับถือพระกริ่งตามประวัติการเกิดพระกริ่งที่วาพระกริ่งท ี่สรางขึ้นทุกองคนั้นหมายถ ึงพระไภษัชยคุรุฯแตมีขนาดเล ็กลงเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมหรือพกติดตั วขณะเดินทางดังน ั้นความเช ื่อและรูปแบบของพระกริ่งในประเทศตางๆที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นจึงม ีความใกลเคียงก ับความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯโดยมีรายละเอียดของรูปแบบศิลปกรรมและความเชื่อที่พบในประเทศตางๆดังนี้ประเทศอินเดียปจจ ุบันนี้เรายังไมพบหลักฐานที่เปนรูปประติมากรรมพระไภษัชยคุรุฯและพระกริ่งในประเทศนี้เลยจึงไม สามารถทราบถึงรูปแบบท ี่ชัดเจนของพระกริ่งในดินแดนนี้ตามที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 2 อีกทั้งจ ุดเริ่มต นของการสรางพระกริ่งนั้นนาจะเกิดขึ้นหล ังจากพระไภษัชยคุรุฯไดรับศรัทธาในการบูชาในเรื่องชวยรักษาคนปวยจากการลูบที่องคพระดังน ั้นเมื่อในประเทศอ ินเดียนี้ไมไดมีความเช ื่อที่ชัดเจนในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯก็น าจะไมมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้ดานความเช ื่อหากเราเชื่อตามตํานานวามีการสรางพระกริ่งขึ้นจริงโดยพระปรมาจารยฝายเหน ือผูถือค ัมภีรสันสกฤตได สรางขึ้น30โดยมีพุทธลักษณะที่สําค ัญเชนองคพระประทับบนดอกบัวถือวาเปนครรภธาตุที่เป นสัญล ักษณของโพธิจิตแห งคัมภีรมหาไวโรจนสูตรพระหัตถซายถ ือเครื่องพุทธบริโภคเชนหม อน้ําหรือพุทธอุปโภคเชนวั ชระ (วัชระเป นสัญล ักษณของปญญาอันกลาแข็งของพระธยานิพุทธต ัดซึ่งอวิชชาและกิเลส) และในองคพระประจ ุผลโลหะแตละผลโลหะนั้นเปนสัญล ักษณหมายถึงพระพ ุทธเจาแตละองค31พระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นก็ก็สมบ ูรณด วยพุทธภาวะมีกฤตยาคุณอาถรรพณทั้งพระเดชและพระคุณตามคัมภีร มนตรยานเรียกวาจตุรอาถรรพณ

ดังน ั้นหากมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้จริงตามพุทธลักษณะที่กล าวไวขางตนซึ่งน ําสัญล ักษณตางๆมาเป นตัวกําหนดร ูปแบบองคพระก็แสดงวาพระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นผูสรางหวังใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยอันตรายตางๆมากกว าชวยรักษาอาการเจ็บปวยประเทศทิเบตจากจุดเริ่มตนของแนวคิดในการสรางพระกริ่งในประเทศนี้ที่วาผูที่เจ ็บปวยตองการหายจากโรครายตางๆนั้นใหไปขอกับพระไภษัชยค ุรุฯโดยถาหากรูสึ กไมสบายหรือเจ็บที่สวนไหนก็ให ไปลูบท ี่สวนน ั้นขององคพระด วยการกระทําดังกล าวทําให รูปเคารพพระไภษัชยค ุรุฯเกิดความชํารุดจึงได สรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใชในพ ิธีกรรมด ังกลาวโดยร ูปแบบพระกริ่งของประเทศนี้นั้นกลาวกันวาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ทานค ุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียไดนําพ ุทธศาสนาฝายมหายานตันตระเขาสูประเทศท ิเบตเนื่องจากพุทธศาสนานิกายตันตระม ีความเชื่อในเร ื่องคาถาอาคมคลายความเชื่อในลัทธิบอนปะที่เปนความเช ื่อพื้นเมืองเดิมสังฆมณฑลท ิเบตและประชาชนจึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธาทานค ุรุปทมสมภพจ ึงไดสรางพระพุทธรูปขึ้นโดยนํารูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯที่หมายถึงพระธยานิพุทธมาเป นตนแบบการสรางพระพุทธร ูปเหลานั้นมีตั้งแต ขนาดเล ็กจนถึงขนาดใหญ33โดยพุ ทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งคือประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําอมฤตวัชระพระขรรค (พระกริ่งทิเบตมักถ ือวัชระในพระหัตถซาย) พระศอคลองลูกประค ําทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชครองจ ีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาไม สวมเคร ื่องประดับพระพั กตรคอนข างกลมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กเปนประติมากรรมลอยตัวมีเนื้อสั มฤทธิ์ทอง (สีเหล ือง) และสัมฤทธิ์เงิน(เนื้อขาว) บางทานเรียกสัมฤทธ ิ์ขาวซึ่งเป นเนื้อสัมฤทธ ิ์ที่พบน อยภายในบรรจ ุเม็ดโลหะทรงกลมเพื่อใหเวลาเขยาแล วเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่งเม ็ดโลหะนี้เปนสั ญลักษณของพระพุทธเจาแตละองค (รูปท ี่ 8) ซึ่งจากข อมูลการเขามาของพุทธศาสนาสูประเทศทิเบตนั้นกลาววาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียในนิกายตันตระที่ได เดินทางมาเผยแผพุทธศาสนาในทิเบตราวพ.ศ. 129034ทานคงน ํารูปแบบทางศ ิลปกรรมของอินเดียแบบปาละที่เจริญอยูในช วงเวลาน ั้นเขาส ูประเทศทิเบตดวยซึ่งพ ุทธลักษณะดังกล าวของพระกริ่งพบวามีความใกลเคี ยงกับลักษณะของพระพุทธรูปในศิลปะปาละของอินเดียคือองค พระประทับนั่งขัดสมาธ ิเพชรบนฐานบัวพระพักตรคอนข างกลมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาจึงอาจกล าวไดวาพระกริ่งทิเบตที่สรางขึ้นนี้มีการร ับรูปแบบศิลปกรรมมาจากศิลปะแบบปาละของอินเดียและนาจะม ีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 14

สวนความเช ื่อในการบ ูชาพระกริ่งของทิเบตนั้นจากจุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งที่หวังใหพระกร ิ่งเปนตัวแทนของพระไภษัชยคุรุฯโดยทําจ ําลองใหมีขนาดเล ็กลงแลวใช แชในน้ําเพื่อทําน ้ํามนตใหผูเจ ็บปวยดื่มน้ํามนตนั้นเพ ื่อรักษาอาการไมสบายตางๆ35แทนการลูบที่องคพระดังน ั้นความเชื่อในการบูชาพระกริ่งของประเทศนี้ก็นาจะตั้งอย ูบนความเชื่อในอํานาจพุทธคุณที่วาช วยรักษาอาการเจ ็บปวยตางๆแตเป นที่นาสังเกตว าในพระห ัตถของพระกริ่งทิเบตกลับถือวัชระซึ่งการถือว ัชระแสดงใหเห็นถึงความเชื่อในการชวยปองกันอันตรายต างๆดังน ั้นเราอาจกล าวไดวาจากพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่ทําเปนรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯและในพระหั ตถซายถ ือวัชระหรือถือหมอยาก็นาจะตองการใหพระกริ่งนั้นมีอํานาจพ ุทธคุณครบทั้งด านรักษาอาการเจ็บปวยตางๆและชวยปองก ันภัยอันตรายตามความเชื่ อเดิมของการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯประเทศจีนจุดเริ่มต นการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้พบวาไดมีการสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกหลังจากที่ความเชื่อในเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯได รับยกย องเป นเสมือนพุทธเจาอีกองค หนึ่งของจีนในช วงพุทธศตวรรษที่ 14 และหลังจากนั้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้อีกหลายรุนโดยมีรูปแบบท ี่แตกตางกันบางแตไมมากนักโดยพระกร ิ่งที่สําค ัญของจีนสามารถแบงตามพุทธล ักษณะออกเป นกลุมใหญๆได  3 กล ุม1. พระกริ่งใหญ (รูปที่ 9) เปนพระกริ่งแบบแรกที่สรางขึ้นในประเทศจีนเนื่องจากมีขนาดที่ใหญกวาพระกริ่งแบบอื่นจึงม ักเรี ยกวา “พระกริ่งใหญ ” หรือ “พระกริ่งใหญจีน” พุทธล ักษณะของพระกริ่งใหญคลายพระกริ่งทิเบตคือประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายซ ึ่งมีกลีบบัวเฉพาะดานหนา 7 คูดานหล ังเปนฐานเรียบพระพั กตรกลมพระเนตรเปนแบบจีนคื อเปนเสนตรงปลายชี้ขึ้นพระเกศาขมวดเปนกนหอยซ อนกัน 2 ชั้นรัศม ีเปนดอก-บัวต ูมพระองค เพรียวบางได สัดสวนทรงเครื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจ ีวรหมเฉ ียงเปดพระอังสาขวามีตุมคล ายไขปลาหรือลูกประคําบริเวณขอบชายจ ีวรเริ่มตั้งแตพระอังสาซายผ านลงมาถึงซอกพระกรพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระที่กนฐานม ีรอยอุดชองแสดงถ ึงการบรรจุเม็ดกริ่งไว ในองคพระหลังจากหลอองค พระแลวจากพุทธลักษณะของพระกริ่งใหญแสดงถึงการรับรูปแบบศ ิลปกรรมจากพระกริ่งทิเบตเชนล ักษณะของพระพักตรการครองจีวรแบบห มเฉียงเปดอังสาขวาซึ่งพระพุทธรูปในพุทธศิลป แบบจีนนิยมครองจีวรแบบหมคลุมการประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายก ็เปนลักษณะท ี่ปรากฏในพระกริ่งทิเบตและเปนเครื่องยืนยันวาพระกริ่งนี้สรางขึ้นบนความเชื่อในศาสนา

พุทธฝ ายมหายานการแสดงปางและการถือวัชระในพระหัตถซายก ็ยังเป นรูปแบบเชนเดียวกับรูปแบบของพระกริ่งทิเบตซึ่งถาพระกริ่งใหญของจ ีนนี้นําพ ุทธลักษณะของพระไภษัชยค ุรุฯแบบจีนมาเป นตนแบบในการสรางพระกริ่งจีนการแสดงปางในพระหัตถ ขวาก็นาจะแสดงปางประทานพรหรือประธานอภัยซึ่งเปนปางที่ไภษัชยคุรุฯของจีนแสดงรวมถึงว ัตถุที่วางบนพระห ัตถซายน าจะเปลี่ยนเป นหมอยาเพราะพระไภษัชยค ุรุฯของจ ีนจะถือหม อยา36แตขณะเด ียวกันพระกร ิ่งใหญก็ได แสดงพุทธศ ิลปแบบจีนไวเช นกันเช นลักษณะของพระเนตรที่ทําเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นที่เหมือนก ับลักษณะพระเนตรของพระพุทธรูปจีนทั่วไปนอกจากน ั้นการทําตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรก็เป นพุทธศิลปแบบจีนซึ่งไม เคยพบในการสรางพระกริ่งทิเบต2. พระกริ่งบาเก็ง (รูปที่ 10) เปนพระกริ่งอีกรูปแบบหนึ่งของจีนสาเหตุที่เรียกว าพระกริ่งบาเก็งนั้นเนื่องจากมีการพบเปนคร ั้งแรกที่เขาพนมบาเก็งในประเทศก ัมพูชาพ.ศ. 246037พุทธล ักษณะของพระกริ่งบาเก็งตามประว ัติกล าววาชางไดถอดแบบจากพระพุทธรูปในวัดฮุดเกงยี่วัดเหี้ยนทงยี้38สรางขึ้นในมณฑลซัวไซของประเทศจีนในช วงพุทธศตวรรษที่ 15-1639พุทธล ักษณะทั่วไปคลายพระกริ่งทิเบตและพระกริ่งใหญ คือเป นประติมากรรมลอยตัวประทับนั่งข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกลีบบัวเปนต ุมนูนอยูดานหน า 7 คูดานหล ังของฐานพระเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กซอนกัน 3 ชั้นพระนลาฏคอนขางแคบกวาพระกร ิ่งแบบอื่นพระเนตรทั้ง 2 ขางน ูนเดนมองลงต่ําอยางสํารวมพระนาสิกโดงเปนสันพระอ ุระคอนข างอวบอวนพระกรขวามีกลามเนื้อนูนเล็กน อยพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวามีตุมคลายไขปลาหรือลูกประคําบริเวณขอบชายจีวรทั้งดานหน าและดานหลังรวมทั้งบริเวณข อพระกรซายภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูภายในเม ื่อเขยาแลวจะทําให เกิดเสียงด ังกร ิ๊งๆจากพุทธลักษณะของพระกริ่งบาเก็งดังกลาวจะเห็นวามีการรับรูปแบบทางศ ิลปกรรมในการสรางพระกริ่งแบบทิเบตเขามามากกวาการใชรูปแบบศ ิลปกรรมแบบจีนดั งนั้นพุทธลักษณะในหลายสวนจึงตางจากพระกริ่งใหญเชนลักษณะของพระพักตรที่คอนข างกลมลักษณะพระเนตรที่นูนเด นมองลงต่ําอยางสํารวมไมไดทําเป นเสนตรงก ็แสดงใหเห็นถึงการปฏ ิเสธรูปแบบศิลปกรรมของจีนอยางชัดเจน

183. พระกริ่งหนองแส (รูปท ี่ 11) การที่พระกริ่งแบบนี้ถูกเรียกว า “พระกริ่งหนองแส” เพราะเชื่อวาเปนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นในอาณาจักรน านเจาที่มีเม ืองหลวงอยูที่หนองแส40เปนพระกริ่งของจีนที่มีอาย ุนอยที่สุดโดยสร างขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ 16-1741พุทธล ักษณะคือองคพระประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาฐานด านหลังเรียบองค พระคอนข างเพรียวบางกวาพระกริ่งบาเก็งและเอนไปดานหลังจนองคพระดูเหมื อนเกือบหงายหลังพระพักตรกลมพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กพระเกศมาลาทําเป นรัดเกลาคล ายพระโพธิสัตวในพุทธศาสนานิกายมหายานพระเนตรท ั้ง 2 ขางน ูนเดนมองลงต่ําอย างสํารวมไม เฉียงขึ้นเหม ือนพระกริ่งใหญพระนาสิกนูนใหญพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยมีกล ามเนื้อเล็กนอยพระห ัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบชายจี วรมีตุมคล ายไขปลาหร ือลูกประคําเชนเดียวกับพระกริ่งใหญ หรือพระกริ่งบาเก ็งสวนพุทธลักษณะที่สําค ัญที่ตางจากพระกร ิ่งแบบอื่นคือพระกริ่งหนองแสนี้หลอตันไม มีเม ็ดโลหะขนาดเล็กอย ูในองคพระจากพุทธลักษณะของพระกริ่งหนองแสแสดงใหเห็นรูปแบบที่ใกลเคียงกับพระกริ่งบาเก็งและพระกริ่งทิเบตทั้ งลักษณะพระพักตรพระเนตรการแสดงปางและของที่ถือบนพระหัตถแสดงใหเห็นแนวคิดถึงการยึดมั่นในร ูปแบบหล ักของพระกริ่งแตขณะเด ียวกันการท ี่พระกริ่งหนองแสมีลักษณะพ ิเศษคือหลอตันไมมีเม ็ดกริ่งอยูในองคพระซึ่งอาจเน ื่องมาจากองคพระที่มีขนาดเล็กจึงมีปญหาด านเทคนิคในการหลอและใสเม็ดโลหะในองคพระหร ืออาจเนื่องจากตองการแสดงใหเห็นวาพระกริ่งหนองแสนี้สรางขึ้นในพุทธศาสนาฝายมหายานมากกวาพุทธศาสนามหายานแบบตันตระซ ึ่งเห็นไดจากการทําพระเกศาในล ักษณะรัดเกลาเป นมวยดังน ั้นถากลาวโดยรวมถึงการสรางพระกริ่งจีนทั้ง 3รูปแบบแล วคงสร ุปไดวาพระกร ิ่งที่สร างขึ้นในประเทศจีนคงยึดรูปแบบการสรางพระกริ่งตามรูปแบบที่ไดรับการถ ายทอดมาจากการสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตเปนสําค ัญเชนจากล ักษณะของการแสดงปางการประท ับบนฐานบัวหรือวัตถุที่วางบนฝ าพระหัตถมากกว าการใชรูปแบบของพระไภษัชยคุรุฯที่สร างขึ้นในประเทศจีนมาเป นตนแบบซึ่งเห ็นไดจากความแตกตางของพุทธลักษณะของพระกริ่งจีนกับพระไภษ ัชยคุรุฯของจีนที่มีความแตกตางกันในหลายสวนตามท ี่ไดกลาวมาแลวแตขณะเด ียวกันก็มีการผสมผสานรูปแบบศ ิลปกรรมจีนลงไปในบางสวนอาจเพ ื่อตองการใหเห็นความแตกตางของพระที่สรางในจีนกับในท ิเบตเชนการเปลี่ยนแปลงลักษณะของพระพักตรและพระเนตรรวมถ ึงลั กษณะของตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรที่ ไมปรากฏในพระกริ่งทิเบต

สวนด านความเชื่อในการนับถือพระกริ่งของจีนนั้นพบวาเมื่อเริ่ มตนของการเขามาของความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯในพุทธศตวรรษที่ 12 คนท ั่วไปไดนับถือพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยเชนขอความที่อยูในอภ ิเษกสูตรที่กลาววาถาม ีผูปวยหน ักจนหมดหวังก็ใหพระสงฆอ านพระสูตรของพระไภษัชยคุรุฯ 49 คร ั้งอาการผ ูปวยก ็จะดีขึ้น42ดังน ั้นการสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯที่ ประดิษฐานตามวัดในประเทศจ ีนสวนใหญ ในพระหัตถซายม ักถือหมอยาหรือผลไมที่เป นโอสถซึ่งสอดคล องกับความเชื่อในการเปนพระพุทธเจาแพทยสวนความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งนาจะเปนความเชื่อที่เขาสู ประเทศจีนทีหลังจากความเชื่อในพุทธศาสนามหายานแบบตันตระดังน ั้นพระกริ่งของในประเทศจีนจึงทรงวัชระในพระหัตถซายซึ่งเป นสัญล ักษณของพุทธศาสนามหายานแบบตันตระและการที่พระกริ่งจีนไมไดถือหมอยาในพระหัตถซายน ี้เองจึงเปนไปไดวาพระกริ่งเหลานี้คงสรางขึ้นจากความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณที่ชวยขจ ัดอันตรายในการเดินทางและจากการที่พบพระกริ่งจีนทั้งพระกร ิ่งหนองแสพระกร ิ่งใหญพระกร ิ่งบาเก็งกระจายอยูในดินแดนตางๆเชนประเทศไทยประเทศกัมพูชายิ่งท ําใหเราเชื่อไดวาพระกร ิ่งเหลาน ั้นพอคาชาวจีนคงนําติดตัวเพื่อป องกันอันตรายขณะเดินทางไปติดตอท ําการคาในสถานที่ตางๆ43ประเทศกัมพูชาแมเราจะพบหลักฐานเกี่ยวกับพระกริ่งตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 15 แตเน ื่องจากไมสามารถยืนยันไดวาพระกริ่งเหลาน ั้นเปนพระกริ่งท ี่ชางชาวขอมสรางขึ้นในดินแดนหรือนําเขามาจากตางแดนจนชวงพุทธศตวรรษที่ 17 ความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งคงไดเดินทางเขาสูประเทศกัมพ ูชาและเมื่อกษัตริยชาวกั มพูชาเริ่มศร ัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจึงค ิดสรางพระกริ่งขึ้นโดยพระกริ่งของกัมพูชาที่สําค ัญมี 2 ลักษณะใหญๆคือ1. พระกริ่งพระปทุมหรือพระกริ่งปทุม (รูปที่ 12) เปนพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพ ูชามีอายุประมาณ 1,000 ป44สรางโดยพระเจาปทุมสุริยวงศ กษัตริย ขอมทําใหพระกร ิ่งที่สรางขึ้นนี้ถูกเรียกว า”พระกริ่งปท ุมหร ือพระกริ่งพระปทุม” เมื่อสรางเสร็จแลวไดประจุไวตามกรุปราสาทเทวสถานเพื่ออุทิศเป นเครื่องประกาศพระศาสนาสวนหนึ่งอีกส วนหนึ่งประทานแกพระราชบ ุตรมหาอํามาตย ผู ใหญที่ใกลชิดสวนส ุดทายประทานใหแกทหารพระกร ิ่งปทุมนี้มีดวยก ัน3 ขนาดค ื

1.1 พระกริ่งขนาดใหญ (รูปท ี่ 12) มีพุทธลักษณะที่สําค ัญคือมีขนาดใหญสุดองค พระประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาดานหล ังของฐานพระเปนฐานเรียบไมมีกล ีบบัวหรือเครื่องหมายอื่นๆพระพักตรเร ียวยาวคลายร ูปไขพระเนตรน ูนเดนมองลงต่ําอยางสํารวมพระศอคลองลูกประค ําพระองคเพรียวบางพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาทรงเครื่องทรงอยางนักบวชภายในองคพระบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งไวดานใน1.2 พระกร ิ่งขนาดกลาง (รูปที่ 13) บางครั้งเรียกก ันวา “กริ่งอุบาเก ็ง” พุทธล ักษณะคลายพระกร ิ่งขนาดใหญ แต พระพักตร และพระเนตรมักทําเป นแบบจีนคือพระพั กตรคอนข างกลมและพระเนตรเปนเสนตรงปลายเฉียงขึ้นพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระหรือหมอน ้ํามนตประทับบนฐานบัวที่มีลายกล ีบบัวอยูดานหน า 7 คูเชนเด ียวกับกับพระกร ิ่งขนาดใหญแตฐานด านหลังแอนเป นรองลึกมากกวา1.3 พระกริ่งขนาดเล็กพบเปนจํานวนนอยที่สุดและม ีขนาดเล ็กที่สุดของพระกริ่งปทุมพุทธล ักษณะโดยรวมคลายคลึงกับพระกริ่งขนาดใหญ และฐานองคพระด านหลังไมเปนรองลึกเชนพระกริ่งอุบาเก ็งจากพุทธลักษณะของพระกริ่งปทุมทั้ง 3 ขนาดพบวามีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งทิเบตเชนการท ําพระพักตรกลมพระเนตรนูนมองลงต่ําพระหัตถซายถ ือวัชระขณะเด ียวกันชางก ็นํารูปแบบทางศิลปกรรมจากจีนมาผสมผสานดวยเชนล ักษณะของพระเนตรของพระกริ่งปทุมขนาดกลางที่ทําปลายเฉียงขึ้นดังน ั้นเราอาจกลาวไดว าพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพูชานาจะไดรับอิทธ ิพลในการสรางพระกริ่งจากจีนหรืออาจหลอข ึ้นในประเทศจีนแลวนําเขาประเทศกัมพูชาซึ่งกรมพระยาดํารงราชานุภาพได ทรงแสดงความคิดเห็นไวในหนังสือความทรงจําวา45″พระกร ิ่งเห็นจะเปนของหลอในเมืองจีนแล วสงมายังกรุงก ัมพูชาสม ัยกําลังรุงเรือง”2. พระกริ่งหนาตั๊กแตน (รูปที่ 14) สาเหตุที่เรียกว าพระกริ่งหนาตั๊กแตนนั้นเนื่องจากลักษณะของพระพักตรคลายต ั๊กแตนกลาวกันวาพระกริ่งประเภทนี้สรางขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณตอนพระนารายณปราบอสูรตรีบุรํามีการสล ักสัญลักษณรูปโอมไว ใตฐานพระพุทธล ักษณะของพระกริ่งหนาตั๊กแตนนี้ทําเปนประติมากรรมนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานที่มีตุมกลมๆคล ายฐานบัวทางดานหนาสวนด านหลังของฐานพระทําเปนกลีบบัวรูปสามเหลี่ยมซอนก ัน 2 ชั้นพระเศ ียรใหญ พระเกศาท ําเปนปมขนาดใหญพระศอสั้นม ีลูกประค ําขนาดใหญคลองไวพระเนตรโปนพระนาส ิกใหญพระห ัตถทั้งสองข างประสานกันไวเหนือพระเพลาจรดพวงลูกประคําพระห ัตถขวาถือดอกบัว (รูปท ี่ 15)

จากพุทธลักษณะของพระกริ่งหนาตั๊กแตนพบว าไมมีการร ักษาพุทธลักษณะในการสรางพระกริ่งที่มีมาต ั้งแตในอดีตเลยรูปแบบทางศ ิลปกรรมที่ปรากฏจะเห็ นวาไมมีความละเอียดอ อนและขาดความสวยงามเชนการท ําพระเนตรที่โปนพระโอษฐ กวางพระศอสั้นรวมถึงรูปแบบต างๆของพระกริ่งก็มีสร างใหตางไปจากท ี่เคยม ีมาในประเทศจีนและประเทศทิเบตเชนลักษณะของการวางพระหัตถที่แสดงปางสมาธิแทนปางมารวิชัยหร ือวัตถุที่อย ูในพระหัตถซายท ี่มักเปนวัชระก็เปลี่ยนเปนถือดอกบัวในพระหัตถขวารวมถึงลักษณะของฐานบัวที่เดิมมักทําเป นฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูก็เปลี่ยนเปนบัวตูมกลมท ี่มีลักษณะเป นตุมหร ือเปนฐานเกลี้ยงดังน ั้นพระกริ่งหนาตั๊กแตนนี้อาจเปนของที่ชางพ ื้นเมืองชาวเขมรสรางขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณมีการเปลี่ยนแปลงร ูปแบบใหมีลักษณะเฉพาะจึงไม ไดรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งแบบเดิมไวจึงอาจกลาวไดวาพระกร ิ่งที่เคยสรางขึ้นในประเทศกัมพูชากอนการสรางพระกริ่งหนาตั๊กแตนอาจเป นของที่นําเข ามาจากประเทศจีนตามที่กรมพระยาด ํารงไดประทานความเห็นไวสวนด านความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งในประเทศกัมพูชาตามตํานานการสรางพระกริ่งไดกลาววาพระเจ าปทุมสุริยวงศ ไดโปรดใหสรางพระไภษัชยคุรุฯขนาดเล ็กที่เรียกว าพระกริ่งขึ้นโดยสังฆมณฑลฝายมนตรยานและอาถรรพเวทของมหาไวโรจนาภิสัมโพธิวิกุรว ิตาธิษฐานพระกริ่งที่สร างขึ้นนี้เชื่อก ันวามีจตุรอาถรรพณคือ461.ธรรมภาวะปูชาบูชาเพ ื่อความสงบสุขตามธรรมชาติใหรอดพนจากโรคภัยอุทกภ ัยอัคค ีภัยและราชภัยทั้งปวงรวมท ั้งภัยจากศ ัตรูสวนตัวของผูบูชานั้น2.ยศภาวะปูชาบูชาเพื่อความกาวหนาใหเลื่อนยศตําแหนงการงานใหเกิดผลในทางการคาขอบุตรธิดาเพิ่มความสุขสมบูรณใหยิ่งๆขึ้นกว าเดิม3.มารภาวะปูชาการบูชาแบบนี้เปนพิธีอาถรรพณสําหรับปราบศ ัตรูที่เป นภัยตอศาสนาเชนพวกฆาพระสงฆเผาวัดวาอารามทําลายน ักบวชเชนจั บพระสึกโดยไมสมควรแกเหตุ(บาปหนัก) เชนน ี้พระสูตรใหกระท ํากฤตยาคุณใหตายเปนการชวยมิใหผูนั้นประกอบความเลวยิ่งข ึ้นไปอีกมารภาวะปูชานี้จะกระทําไดตอเม ื่อมีเหตุผลสมบูรณไมเชนน ั้นแลวผูทํากฤตยาคุณว ิธีนี้จะเปนบาปหนักอาจารยจะไมมอบให ศิษยคนใดงายๆ4.เมตตาภาวะปูชาบูชาใหเกิดชื่อเส ียงเกียรติคุณให เปนที่เคารพรักใครของบุคคลเรียกวาเมตตามหานิยมน ั่นเองจากจตุรอาถรรพณในการสรางพระกริ่งทั้ง 4 ขอพบวาการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชาไดสรางขึ้นบนความเชื่อที่พระองคสามารถขจัดภัยอันตรายตางๆชวยให หายจากโรคภัยไขเจ็บและให เกิดความสุขความเจริญประสบแตสิ่งท ี่ดีเป นมงคลแกผูที่นับ

จากขอมูลทั้งหมดที่กลาวถ ึงพุทธลักษณะของพระกริ่งที่ปรากฏในประเทศตางๆทั้งทิเบตจีนและก ัมพูชาคงกลาวได วาด านรูปแบบการสรางพระกริ่งนั้นสวนใหญ ไดรั กษาพุทธลักษณะที่สําค ัญที่มีมาต ั้งแตเริ่มสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตเช นการประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวเฉพาะดานหนา 7 คูการแสดงปางมารวิชัยและการถ ือวัชระในพระหัตถซายและที่สําค ัญในองคพระมักใส เม็ดโลหะหรือที่เรียกวาลู กกริ่งไว เพื่อให เกิดเสียงด ังเมื่อเขยาองคพระแตอาจม ีพุทธล ักษณะที่แตกต างบางตามความคิดของชางในแต ละท องถิ่นเชนล ักษณะของพระเนตรลักษณะของพระพักตรลักษณะของจีวรเปนตนสวนความเช ื่อถือในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งนั้นจะเห็นวาเริ่มสรางพระกริ่งนั้นเกิดจากศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯที่ชวยรั กษาใหหายจากโรคภัยตางโดยการลูบที่องคพระแต การกระท ําดังกล าวทําให องคพระชํารุดจ ึงสรางพระกร ิ่งขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมในการรักษาอาการเจ ็บปวยของคนแทนการลูบที่องคพระดั งนั้นความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจึงย ึดตามอํานาจพ ุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯเป นสําค ัญคือชวยร ักษาใหหายจากโรครายจากน ั้นจึงมีความเช ื่อที่เกิดจากการเดินทางคาขายของพอคาชาวจีนโดยหวังใหอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่พกติดตั วขณะเดินทางชวยปองกันอันตรายซึ่งความเช ื่อดานการปองกันอันตรายน ี้ก็เป นอํานาจพุทธค ุณของพระไภษัชยคุรุฯเช นกันซึ่งถ ากลาวโดยรวมดานอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่พบในประเทศตางๆนั้นคงกลาวได วาเป นความเช ื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเชนเดียวกับอํานาจพุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯคือชวยให ผูเจ ็บปวยหายจากโรคภัยไขเจ็บและชวยปองกันอันตรายในขณะเดินทาง

บทที่ 4 รูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่พบในประเทศไทยพระไภษัชยคุรุฯเปนพระพ ุทธรูปที่ประทับข ัดสมาธิบนพระห ัตถถือหมอน ้ํามนตหรือผลไมที่มีสรรพค ุณเปนยาเชนผลสมอซึ่งความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯคงเขาสูประเทศไทยชวงพุทธศตวรรษที่ 18 สม ัยกษัตริยชัยวรม ันที่ 7 ของอาณาจ ักรขอมซึ่งพระองค โปรดใหสรางอโรคยศาลาทั่วอาณาจักรของพระองคประมาณ 102 แห ง47ซึ่งอย ูในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่พบแลวในปจจุบัน 19 แห ง48และในอโรคยศาลาเหลานั้นมีพระไภษัชยคุรุฯประด ิษฐานอยูแมประต ิมากรรมพระไภษัชยค ุรุฯถูกเคล ื่อนยายออกจากศาสนะ-สถานหมดก็ตามแต หลักฐานที่เปนคํากล าวสรรเสริญพระไภษัชยคุรุฯและการบูชาพระไภษัชยคุรุฯกอนท ําพิธีการร ักษาผูที่เจ ็บปวยตามขอมูลที่ไดจากจารึกเชนจารึกดานประคําจารึกปราสาทตาเมือนโตดก็แสดงให เห็นถึงความเชื่อในการบ ูชาพระไภษัชยคุรุฯและการมีอยูจริงของรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯในอโรคยศาลาจากข อมูลขางตนเราจึงกลาวได วาการบ ูชาพระไภษั ชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยผูปกป กรักษามนุษยใหหายจากโรคตางๆรวมทั้งปองกันภัยอันตรายคงเปนความเชื่อที่เขาส ูประเทศไทยในราวพุทธศตวรรษที่ 18 จากอิทธิพลของกษัตริยชั ยวรมันที่ 7 และก อนหนานั้นในประเทศไทยคงไมเคยมีความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯอยูเลยแตในช วงเวลานี้เรายังไม พบจารึกที่กลาวถึงพระกริ่งเลยในสมัยสุโขทัยเราไมพบจารึกที่กลาวถึงพระไภษัชยคุรุฯแตเราพบประติมากรรมที่เปนพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบอยูในซุมเรือนแก วดานหล ังซุ มเรือนแก วมีใบเพกาประดับไวฐานทําเปนบัลลังกสี่เหล ี่ยมซอนกัน 3 ชั้นพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรปดสนิทมีวัตถ ุรูปกรวยอยูบนฝาพระห ัตถพระพุทธรูปเหลานี้อาจใชประดับอยูบนชั้นหลังคาของศาสนสถาน(บันแถลง) พุทธล ักษณะคลายพระพุทธร ูปขอมสมัยบายน (รูปท ี่ 16) แสดงให เห็นวาสมัยสุโขทัยชวงที่อิทธ ิพลขอมยังมีบทบาทอยูความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯไดเขาสุโขท ัยด วยแตเม ื่ออาณาจักรสุโขท

สถาปนาและปกครองโดยคนไทยดานศาสนาก ็คงเก ิดการเปลี่ยนแปลงดวยเช นกันโดยคนไทยเหลานั้นคงหันมานับถือพ ุทธศาสนาฝายเถรวาทความเช ื่อในการนับถือพระไภษ ัชยคุรุฯที่เป นความเชื่อในพุทธศาสนาฝายมหายานก็ไดหายไปจากส ุโขทัยสวนหล ักฐานที่เกี่ยวกับพระกริ่งนั้นก็ยังไม พบหลักฐานที่กลาวถึงการสร างพระกริ่งขึ้นในสมัยสุโขทัยสมัยอยุธยาเราไมพบรูปเคารพหรือเอกสารที่กลาวถึงการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯอาจเปนเพราะความเชื่อที่ประชาชนสวนใหญ ในสม ัยนั้นน ับถือเป นพุทธศาสนาแบบเถรวาทสวนหล ักฐานที่เกี่ยวกับพระกริ่งนั้นเราพบวาตามประวัติ การสรางพระกริ่งในสมัยร ัตนโกสินทรกลาววาไดใชตําราการสรางพระกริ่งที่ไดรับสืบทอดมาจากพระพนรัตเจาอาวาสวัดปาแก วที่มีชีวิตอย ูในสมัยอยุธยา49มาเปนตนแบบซึ่งพระพนร ัตไดตําราการสร างพระกริ่งมาจากตําราการสรางพระกริ่งปทุมฯของขอมโดยทานได สรางพระกริ่งขึ้นแลวนําพระกร ิ่งที่สรางขึ้นนั้นติดไวที่พระมาลาเบี่ยงของสมเด ็จพระ-นเรศวรมหาราช50 (ปจจ ุบันพระมาลาเบี่ยงดังกลาวเก ็บรั กษาไวที่พระบรมมหาราชวังและไมสามารถเขาชมได ) แตจากภาพพระมาลาเบี่ยงที่แสดงลักษณะพระพุทธรูปที่ประดับไวบนพระมาลาเบี่ยงดังกลาวพบวาเปนพระพุทธรูปขนาดใหญ 1 องคอยูตรงกลางแสดงปางประทานอภัยดานข างเปนพระพุทธร ูปปางสมาธิอยูรอบจํานวน 16 องค โดยพระพ ุทธรูปดังกลาวเปนพระพุทธรูปสมัยลพบุรีอายุไมเกาไปกวาพ.ศ. 185051 (รูปท ี่ 17) ซึ่งพ ุทธลักษณะและขนาดของพระพุทธรูปที่ประดับบนพระมาลาเบี่ยงน ั้นไมใชพุ ทธลักษณะของพระกริ่งที่พระห ัตถมักแสดงปางมารวิชัยและประท ับบนฐานบัว52จากขอมูลดังกลาวจ ึงยังไมสามารถยืนยันไดวาในสม ัยอยุธยามีการสรางพระกริ่งขึ้นรวมถึงตําราการสร างพระกริ่งเราก็ไมพบหลักฐานที่ชัดเจนว ามีตํ าราดังกลาวอยู จริงในชวงต นของกรุงรัตนโกสินทรมีการกลาวถึงเรื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งอยูมากเชนขอม ูลของกรมพระยาดํารงราชานุภาพที่กลาวไวในหนังสือนิราศนครวัดวาในสมัยรัชกาลที่ 4 พระ-อมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศก ัมพูชาเมื่อทานเดินทางกลับพระมหาปรานไดมอบพระกริ่งกลับมาเพ ื่อใชปองก ันอันตรายขณะเดินทางและเมื่อทานกลับถึงกรุงเทพฯทานได มอบพระกร ิ่งดังกล าวใหพระยาอัพภันตริกามาตย 53พระกริ่งที่พบในชวง

ตนของกร ุงรัตนโกส ินทรนั้นนักว ิชาการทั่วไปเชื่อวาเปนพระกริ่งที่นําเข ามาจากประเทศกัมพูชาซึ่งกรมพระยาด ํารงราชานุภาพทรงเร ียกพระกริ่งเหลาน ั้นวาพระกริ่งพระเจาปทุมวงศ ซึ่งสร างขึ้นในสมัยพระเจาปทุมสุริยวงศ ตามแบบที่ชางจ ีนคิดขึ้นตามความเชื่อในฝายมหายาน54นอกจากนั้นศรีศักรวัลลิโภดมไดใหความเห็นวาพระกริ่งที่พบในประเทศไทยในชวงแรกคงเปนพระกริ่งที่พระกัมพูชานําติดตัวเพื่อใหอํานาจพ ุทธคุณป องกันอันตรายขณะเดินทาง55พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่พบในประเทศไทยชวงแรกมักทําเป นประติมากรรมลอยตัวขนาดเล็กความส ูงไมเกิน 2 นิ้วมี 2 ชน ิดโดยองคขนาดใหญมีสีดําสวนองค ที่มีสีเหล ืองจะมีขนาดเล็กกวาประทับน ั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวที่ทํากลีบบ ัวเฉพาะด านหนา 7 คูฐานด านหลังเรียบไมมีลวดลายพระพั กตรกลมเรียวแบบรูปไขคลายพระพ ักตรพระพุทธร ูปแบบจีนพระเนตรมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจ ีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบชายจีวรม ักทําเป นตุมไขปลาพระหัตถ ขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายวางบนพระเพลาบนฝาพระหัตถมีหมอน ้ํามนตภายในองคพระมักมีเม็ดโลหะรูปกลมขนาดเล็กใสไว ดานในเม ื่อเขยาองคพระจะทําใหเกิดเสียงด ังกร ิ๊งกริ๊งจนกระทั่งพ.ศ. 2425 สมเด ็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทยโดย56โดยตามประว ัติกล าวว าพระองคไดใชตําราการสร างจากตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมฯที่พระองค ไดรับสืบทอดตอมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสดังน ั้นพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทยตามตําราสวนใหญมักกลาววามีพุทธล ักษณะใกลเคี ยงกับพุทธลักษณะของพระกริ่งพระปทุมฯแตมี การดัดแปลงใหมีลักษณะเฉพาะแสดงรูปแบบศิลปกรรมไทยมากขึ้นเชนการเพิ่มกล ีบบัวอีก 1 คูบริเวณดานหลังของฐานพระหรือลักษณะของพระเนตรที่เหลือบมองลงต่ําและหล ังจากที่พระมหาสมณเจากรม-พระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยอยางตอเนื่องจนถึงป จจุบันโดยพระกร ิ่งที่สรางขึ้นสวนใหญ เชื่อว ามีอํานาจพ ุทธคุณดานแคลวคลาดและปองกันภัยอันตรายบ ําบัดโรคตางๆ57ซึ่งอาจแบ งกลุมพระกร ิ่งที่พบในประเทศไทยตั้งแตเริ่มสรางจนถึงปจจุบันเปนกลุมใหญๆได

1.พระกริ่งกลุมวัดบวรน ิเวศวิหารสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกของประเทศไทยที่วั ดนี้ในพ.ศ. 2425 ซึ่งคงเก ิดจากความเชื่อถือในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่พบเห ็นจากเจานายชั้นสูงของชาวก ัมพูชาที่เขามาอย ูในกรุงเทพฯและบวชเรียนที่วัดบวรน ิเวศฯหรือการที่พระสงฆชาวก ัมพูชาพกพระกริ่งติดตัวเพื่อป องกันอันตรายขณะเดินทางซึ่งในตอนต นของกรุงรัตนโกส ินทรนั้นพระสงฆ ไทยกับพระสงฆ กัมพ ูชามีการเดินทางต ิดตอก ันอย ูเสมอและเมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณทรงศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งทานจ ึงคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางและหลังจากท ี่พระองคสรางพระกริ่งขึ้นแลวก็ ไดมีการสรางพระกริ่งขึ้นท ี่วัดน ี้และวัดอื่นๆสืบตอมาจนถ ึงปจจุบันพระกร ิ่งที่สําค ัญของวัดนี้เชน1.1 พระกร ิ่งปวเรศ (รูปที่ 18 ) เปนพระกร ิ่งแบบแรกที่สรางขึ้นในประเทศไทยที่วัดบวรนิเวศนนิเวศว ิหารที่เรียกว าพระกริ่งปวเรศนั้นเพราะสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศ-วริยาลงกรณเปนผูสรางขึ้นประวัติการสรางกลาววาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณซึ่งเป นเจาอาวาสวัดบวรน ิเวศนวิ หารในขณะนั้นทานไดสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นซึ่งถือเป นพระกริ่งท ี่สรางขึ้นเปนครั้งแรกของวัดบวรน ิเวศนฯและประเทศไทยเมื่อพ.ศ. 242558ซึ่งพระองค คงไดรับความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่ชวยปกป กรักษาใหมนุษยหายจากโรคร ายตางๆและสามารถปองกันอันตรายได โดยความเชื่อเหลานั้นอาจไดรับฟ งมาจากพระสงฆชาวกัมพูชาหรืออาจประสบกับตัวพระองคเองจึงเป นเหตุใหพระองคคิดสร างพระกริ่งขึ้นบางโดยตามประวัติกล าววาพระองคไดนําตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมของขอมมาเปนตนแบบทั้งด านรูปแบบขององคพระวัสด ุที่ใชและพิธีกรรมในการสราง59โดยตําราด ังกลาวเช ื่อกันวาทานไดรับมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสซึ่งรับสืบทอดกันมาจากพระพนรัตเจ าอาวาสว ัดปาแก วที่มีชีวิตอย ูในสมัยอยุธยาพระกริ่งปวเรศที่สรางขึ้นในรุนแรกนี้มีไม เกิน 30 องค60เพื่อถวายแดเจานายช ั้นสูงโดยเฉพาะหลังจากนั้นก็ไมมีการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นที่วั ดบวรนิเวศฯนี้อี กจนกระท

27วิเคราะห ประวัติการสร างสมัยตนกรุงรั ตนโกสินทรเราพบวาราชวงศจักร ีของไทยและราชวงศของกัมพูชามีความสัมพันธกันอย ูจากความสัมพันธดังกล าวเจานายชั้นสูงหรือพระสงฆ ชาวกัมพูชาคงไดนําความเช ื่อและองคพระกริ่งสูประเทศไทยเชนสม ัยรัชกาลที่ 4 พระอมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศก ัมพูชาและไดพระกร ิ่งกลับสูประเทศไทย62จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นถึงการติดตอสัมพ ันธกันระหว างไทยกับกัมพูชาและมีการนําองคพระกริ่งเขาสูประเทศไทยซึ่งความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งก็คงเขาสูประเทศไทยดวยดังน ั้นจึงมีความเปนไปไดที่พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณจะไดรับความเช ื่อและมีศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งและคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางในสวนตําราการสรางที่กลาวกันวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวร ิยาลงกรณทรงรับมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสและรับสืบทอดกันมาจากพระพนรัตเจาอาวาสวัดปาแก วซึ่งกลาวก ันวาทานไดรับสืบทอดกันมาจากประเทศกัมพูชาอีกต อหนึ่งแตเราไม สามารถหาหลักฐานการมีอยูของตําราดังกลาวได แตมีขอม ูลจากเอกสารซึ่งเกี่ยวกับการสรางพระกริ่งของวัดสุทัศน ฯกลาววาพระพนร ัตวั ดปาแก วไดสรางพระกริ่งตามตําราการสรางพระกริ่งของขอมแลวนําพระกร ิ่งที่สร างขึ้นนั้นติดไวที่พระมาลาเบี่ยงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช63แตจากการตรวจสอบพุทธ-ลักษณะของพระพุทธรูปที่ติดอยูที่พระมาลาของสมเด็จพระนเรศวรนั้นไมใชพุทธล ักษณะพระกริ่งตามที่ไดกลาวมาแลวดังน ั้นขอม ูลที่กลาววาตําราการสรางพระกริ่งในสมัยร ัตนโกสินทรตอนตนเปนตําราการสรางพระกริ่งที่รับสืบทอดกันมาตั้งแตสมัยอยุธยาจึงยังไมสามารถยืนยันไดอยางชัดเจนนอกจากนั้นตามที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ 3 เกี่ยวกับการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพ ูชาวามีการจารึกเรื่องราวที่เก ี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯการสรางอโรคยศาลาการใช สมุนไพรตางๆในการรักษาโรคแตเราย ังไมพบจารึกที่กล าวถึงพระกริ่งเลยจึงอาจเป นไปไดวาไม มีตําราการสร างพระกริ่งแตถาหากม ีตําราด ังกลาวจริงก ็อาจชํารุดส ูญหายหมดแลวและจากการเปลี่ยนแปลงความเชื่อในการน ับถือศาสนาของชาวขอมจากศาสนาพุทธเปนศาสนาพราหมณมีการท ําลายรูปเคารพในพุทธศาสนาอาจมีการทําลายคัมภีรตางๆในพุทธศาสนาดวยในชวงกษัตริยชัยวรม ันที่ 864และเม ื่อพุทธศาสนาแบบเถรวาทเขาสูกัมพ ูชาการใชภาษาของชาวขอมก็ไดเปลี่ยนแปลงด วยจากภาษ

สันสกฤตท ี่นิยมใชในศาสนาพราหมณและพุทธศาสนาฝายมหายานมาเปนภาษาบาลีที่ใชกั นในศาสนาพุทธแบบเถรวาทโดยจาร ึกภาษาสันสกฤตไดสิ้นสุดลงจากอาณาจักรขอมในสมัยกษัตริยชัยวรรมาทิปรเมศวรที่ขึ้ นครองราชยในพ.ศ. 187065จากการสิ้นส ุดลงของภาษาสันสกฤตในประเทศกัมพูชาคงเปนเหต ุผลหนึ่งที่อาจทําใหตําราท ี่เกี่ยวกับพระกริ่งที่เปนภาษาสันสกฤต (เพราะพระกริ่งเปนพระที่สรางขึ้นในพุทธศาสนาฝายมหายาน) สูญหายหากต ํารานั้นมีอยูจริงหร ืออาจเนื่องจากตําราเหลาน ั้นใชวิธีถายทอดทางวาจาซึ่งเปนวิธีที่นิยมในเอเช ียตะวันออกเฉียงใตจึงไม พบจารึกเป นหลักฐานท ี่จะช วยยืนยันตําราดังกลาวแต การพบพระกร ิ่งในประเทศก ัมพูชาจึงเป นเครื่องยืนย ันวามีการสร างพระกริ่งในประเทศนี้เพียงแตไมสามารถยืนยันถึงการมีอยูของตําราในการสร างไดอยางชัดเจนสวนผ ูสรางพระกริ่งปวเรศนั้นสามารถระบุไดอยางชัดเจนวาสรางโดยพระมหาสมณ-เจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณเนื่องจากที่ฐานองคพระกริ่งปวเรศทุกองคมีจารึกอักษร”ปวร”ไวทุกองค ส วนปที่สร างที่ระบุวาป พ.ศ. 2425 ก็มีความเป นไปไดเพราะพระองคไดรับการเลื่อนพระยศเปนกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณในพ.ศ.241666และทรงดํารงพระยศนี้อยูจนกระทั่งพระองคสิ้นพระชนม ในปพ.ศ. 243567พุทธล ักษณะกลาวกันวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดนําว ิธี การสรางและพุทธลักษณะของพระกริ่งปทุมมาเปนตนแบบ68โดยสรางเปนองคพระขนาดเล็กสูง 2 นิ้วพระองคมีสีเหลืองอ อนเพรียวบางไดสัดส วนแต งกายอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับพระศอไม คลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจีวรเรียบไมมีตุ มไขปลาพระหัตถ ขวาแสดง-ปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ํามนตพระพั กตรรูปไข คลายพระพ ักตรพระพุ ทธรูปสมัยอูทองพระเนตรโปนมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย8 คู69 (ตามตําราการสรางพระกริ่งเดิมฐานบัวจะมีเฉพาะดานหนาเพียง 7 คู) โดยพระองคทานได เพิ่มบัวคว ่ําบัวหงายอีก 1 คูที่ดานหล ังของฐานพระ (รูปท ี่ 19) อาจเพ ื่อใหตางจากพระกร ิ่ง

29เปนตนแบบภายในองคพระมีการใสเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งซึ่งจารึกนามอดีตพุทธเจาไว70ซึ่งม ักใชโลหะชนิดเดียวกับที่ทําองค พระแตบางท านกลาวว าเดิมทีเดียวลูกกริ่ งของพระกริ่งปวเรศน ั้นทําดวยเหล็กไหลซึ่งถ ือกันวาเปนโลหะที่กอให เกิดความอยู ยงคงกะพ ันชาตรีผูอย ูในวงการพระเครื่องเชื่อวาพระกริ่งปวเรศมีการสรางขึ้น 2 ครั้งโดยครั้งแรกอ ุดฐานดวยทองแดงคร ั้งที่สองอุดฐานดวยทองเหลืองแตไมมีหล ักฐานยืนยันแนชัดแล วสลักอักษร“ปวร”ไวบนโลหะที่อุ ดฐานนั้นและม ีการสรางขึ้นไมเกิน 30 องคเพื่อถวายแดเจานายและใช ในพิธีการท ําน้ําศักดิ์สิทธ ิ์71วิเคราะห พุทธลักษณะจากประวัติ การสรางพระกริ่งปวเรศที่กลาววาพระมหาสมณ-เจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณได ใชตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมมาเปนต นแบบและจากขอม ูลเกี่ยวกับพระกร ิ่งปทุมที่กลาวมาแลวในบทที่ 3 และจากหลักฐานทางเอกสารที่สมเด็จกรม-พระยาด ํารงราชานุภาพกลาวไว ในหนังสือน ิราศนครวัดวาพระกริ่งปทุมมี 2 อย างคือสีดําก ับสีเหลืองโดยส ีดําจะม ีขนาดใหญกวาและพบในเมืองไทยเรามากกวามีพระพักตรคล ายพระพุทธร ูปแบบจีนครองจ ีวรหมเฉียงเปดขอบชายจีวรมีตุมไข ปลา72แตพุทธล ักษณะของพระกริ่งปวเรศนั้นม ีพระพักตร ใกลเคียงก ับศิลปกรรมไทยแบบอูทองคือท ําพระเนตรโปนเหลือบลงต่ําครองจ ีวรหมเฉียงเป ดอังสาขวาไมมีตุมไข ปลาที่ขอบจีวรแสดงให เห็นวาพระกร ิ่งปวเรศน ี้ไมไดรับอ ิทธิพลหรืออาจตองการปฏิเสธรูปแบบจากลักษณะจีวรของจีนที่นิยมท ําตุมไขปลาที่ขอบจีวรสวนของที่ถือในพระหัตถซายเปล ี่ยนจากวัชระเปนหมอน้ํามนต (พระกริ่งจ ึงเปนพระที่ใชสําหรับท ําน้ํามนต)73องคพระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวซึ่งพ ุทธลักษณะของพระพุทธรูปที่ประทับบนฐานบัวนั้นเป นพุทธล ักษณะที่สําค ัญของพระพุทธรูปในแบบปาละของอินเดียแต เนื่องจากพระกริ่งเปนพระที่สรางขึ้นในความเช ื่อของพุทธศาสนาฝายมหายานซึ่งพ ุทธลักษณะที่สําค ัญคือการประทับข ัดสมาธิเพชรดังน ั้นการทําพระกร ิ่งที่มีพุทธลักษณะประท ับขัดสมาธิเพชรอาจไมไดเปนการรับอิทธิพลในศิลปะปาละแตเปนลักษณะเฉพาะของพระกริ่งส วนลักษณะของฐานบัวคว ่ําบัวหงายของพระกริ่งปวเรศก็มีลักษณะเฉพาะโดยเพิ่มที่ด านหลังอีก 1 คูและล ักษณะของกลีบบัวก็มีขนาดเล ็กและกลมมนซึ่งก ็ตางจากล ักษณะของกลีบบัวของฐานบัวคว่ําบัวหงายในศ ิลปะปาละของอินเดียที่ทําเป นกลีบบัวขนาดใหญและมีรอยหยักที่กล ีบบั

จากพุทธลักษณะของพระกริ่งปวเรศพบวามีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะหลายสวนจากลักษณะท ั่วไปของพระกริ่งใหแสดงความเปนพุทธศิลปะแบบไทยหรือมีความใกล เคี ยงกับศิลปกรรมไทยเชนล ักษณะของพระพักตรการครองจ ีวรนอกจากนั้นลักษณะที่สําค ัญของพระ-กริ่งปวเรศคือการเพิ่มกลีบบ ัวคว่ําบัวหงายท ี่ดานหล ังอีก 1 คูซึ่งพ ุทธลักษณะของพระกริ่งทั่วไปฐานบัวคว ่ําบัวหงายมักมี เพียงดานหนาอยางเดียวจํานวน 7 คูและจากความแตกตางเหลาน ี้เปนสิ่ งที่ทําให เราทราบวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ อาจไมไดใชพระกร ิ่งปทุมเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งปวเรศแตอาจใช พุทธล ักษณะของพระกริ่งปทุมเปนตัวกําหนดในเบื้องตนเพื่อเปนแนวทางในการสรางพระกริ่งใหถูกต องตําราจากนั้นจึงดัดแปลงแก ไขใหมีความเปนเอกลักษณของตัวเองมากข ึ้นแตการระบ ุวาการสร างพระกริ่งปวเรศไดนําต ําราการสรางพระกริ่งปทุมมาเปนต นแบบนั้นอาจเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณขององคพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมมิฉะน ั้นคนทั่วไปก ็คงยังนับถือองค พระกริ่งที่สรางขึ้นในกัมพูชาตามเดิมความเชื่อในอํานาจพุทธคุณเม ื่อพระกริ่งค ือพระไภษัชยคุรุฯที่ทําให มีขนาดเล ็กลงความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณจึงเหมือนกับกับพระไภษัชยคุรุฯอาจแตกตางไปบางตามวัตถุที่ถือในม ือแตอํานาจพ ุทธคุณหลักของพระกริ่งนั้นคือปกป กรักษาใหพนจากภ ัยอันตรายตางๆและชวยร ักษาใหหายจากโรครายซึ่งพระกร ิ่งปวเรศก็สรางขึ้นบนความเชื่อนี้เช นกันดังน ั้นอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งปวเรศนั้นจึงได รั บการยอมรับวามีอํานาจพ ุทธคุณดานบําบัดโรคภัยไขเจ ็บนานาชนิดคงกระพันชาตรีปองก ันโจรผูรายแคลวคลาดเมตตามหานิยม74ขณะเด ียวกันเมื่อพระหัตถซายของพระกริ่งปวเรศถือหมอน ้ํามนตจึงท ําใหมีอํานาจพ ุทธคุณในการทําน้ําพุทธมนตโดยการน ําพระกริ่งแชในน้ําเพื่อใหน้ําน ั้นเปนน้ําพุทธมนตในพระราชพ ิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวก็ใช พระกริ่งปวเรศนี้ทําน ้ําพุทธมนตที่ใชในพ ิธีมุรธาภ ิเษก75วิเคราะห ความเชื่อจะเห ็นวาความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งปวเรศนั้นส วนหนึ่งเปนความเช ื่อที่มาจากความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯเป นสําค ัญเชนความสามารถในการรักษาโรคตางๆปองก ันอันตรายและเม ื่อสรางพระกริ่งที่หมายถึงพระไภษัชยคุรุฯแตทําให มีขนาดเล ็กลงดังน ั้นความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณของพระกริ่งกับพระไภษัชยคุรุฯจึงใกลเคี ยงกันคือด านปกปกรักษาใหพนจากภัยอันตรายตางๆและชวยร ักษาใหหายจากโรครายซึ่งเป นความเชื่อท ี่เกิดขึ้นต ั้งแตเริ่มสรางพระกริ่งในประเทศทิเบต

สวนความเช ื่อในการน ําพระกริ่งปวเรศมาทําน้ําพระพุทธมนตเราพบขอมูลที่มีการกลาวถึงเรื่องราวด ังกลาวหลายคร ั้งเชนในตําราการสรางพระกริ่งของสังฆราชแพวาในขณะท ี่ทานดํารงพระยศเป นพระศรีสมโพธิ์ได เห็นพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรสเสด ็จมาเยี่ยมพระวันรัต(แดง) อาพาธเปนอหิวาตกโรคจากน ั้นไดนําพระกร ิ่งปวเรศมาแชน้ําแล วนําน้ํานั้นมาดื่มพระวันรัต(แดง)ก็หายจากอาการอาพาธแตขอม ูลในการใชพระกริ่งเพื่อทําน้ํามนตที่ชัดเจนท ี่สุดน ั้นคงเปนขอม ูลที่กลาวไวในจดหมายเหตุรายวันวาในสม ัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดใชพระกร ิ่งปวเรศท ําน้ําพุทธมนตใชในพ ิธีมุรธาภ ิเษกเพื่อใชในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาจากขอมูลดังกลาวก็เปนขอย ืนยันถึงความเชื่อในการใชพระกริ่งปวเรศเพื่อทําน้ํามนตสรุปแลวพระกริ่งปวเรศเปนพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนแบบแรกในประเทศไทยตั้งแตพ.ศ. 2425 ที่สร างโดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณซึ่ งพุทธลักษณะก็มีการด ัดแปลงใหมีความใกล เคียงก ับพุทธศิลปะแบบไทยสวนความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณนั้นเชื่อวาสามารถรักษาโรครายต างๆและชวยป องกันและขจั ดภัยอันตรายซึ่งเป นความเชื่อดังเดิมของพระกริ่งจนถึงป จจุบัน1.2พระกริ่งบัวรอบ (รูปที่ 20) พุทธล ักษณะโดยทั่วไปของพระกริ่งที่ประทับบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายจะม ีกลีบบัวเพียงดานหน าดานเดียว 7 คูแตพระกร ิ่งบัวรอบนั้นที่ฐานบัวมีกลีบบัวอยูรอบฐานทั้งดานหน าและด านหล ังทําใหพระกริ่งรุนน ี้ไดชื่อว าพระกริ่งบัวรอบประวัติการสรางกลาววาพระองคเจาภานุพันธยุคลเปนประธานในการสรางเมื่อว ันที่29 ตุลาคมพ.ศ. 248776ในวาระท ี่สมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศมีพระชนมาย ุครบ 72 พรรษาทําการหล อขนาดใหญประมาณ 300 องคขนาดเล็ก 100 องค77และหล ังจากที่มีการสรางพระกริ่งบัวรอบขึ้นก็มี การสรางพระกริ่งบัวรอบขึ้นอีกหลายรุ นที่วัดบวรน ิเวศนฯวิเคราะห ประวัติการสรางพระประวัติสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศนั้นทรงประสูติเมื่อพ.ศ. 241578ดังน ั้นพระองคจะมี พระชนมายุครบ 72 พรรษาในปพ.ศ. 2487 ซึ่งตรงกับขอมูลการสรางที่กลาววาพระองคเจาภานุพันธยุ คลเปนประธานในการสรางเพื่อฉลองเน ื่องในวาระสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศมีพระชนมายุครบ 72 พรรษาในปพ.ศ. 2487 จึงเป นเครื่องยืนยันวาพระกร ิ่งบัวรอบสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุ 72 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศจริงพ.ศ. 2487 จริง

สําหรับจ ํานวนที่สรางพระกริ่งบัวรอบนี้ไมมีหล ักฐานที่ชัดเจนท ี่สามารถระบุไดวาม ีการสรางขึ้นเทาไหรแตมีขอม ูลที่แตกตางระบุวาพระกร ิ่งบัวรอบสรางขึ้นเพียง 300 องคเทานั้น79สวนขอม ูลที่เกี่ยวกับการนําพุทธลักษณะของพระกริ่งแบบใดมาเปนตนแบบก็ไมพบขอมูลบันทึกไวแตนาจะใช พุทธลักษณะของพระกริ่งปวเรศมาปรับปรุงใหแสดงพ ุทธศิลปแบบไทยมากขึ้นดังน ั้นในสวนประว ัติการสร างพระกริ่งบัวรอบน ี้เราสามารถยืนยันขอม ูลดานอายุไดเพียงอย างเดี ยวพุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวสรางจากเน ื้อนวโลหะองคพระจะมีสีน้ําตาลแก เพรียวบางได สัดสวนแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจีวรเรียบไม มีตุมไข ปลาพระศอไมคลองลูกประคําพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวชิระพระพักตรคอนขางกลมแสดงลักษณะพระพ ักตร แบบพระพุทธรูปแบบไทยพระเนตรมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายสลับเล็กใหญ ซอนก ัน 2 ชั้นรอบฐานองคพระที่กนฐานพระปดดวยทองแดงท ําบุมเปนแองคล ายกนกะทะวิเคราะห พุทธลักษณะเราพบวาพุทธลักษณะของพระกริ่งบัวรอบน ี้ก็ยังรั กษาพุทธลักษณะท ี่สําค ัญของพระกริ่งไวเชนองค พระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระและมีเม็ดโลหะกลมขนาดเล็กอยูในองคพระการรักษาพ ุทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งไวแสดงว าพุทธลักษณะเฉพาะของพระกริ่งนั้นยังเปนรูปแบบท ี่ยึดถ ือสืบต อกันมาหรือการรักษาพุทธลักษณะแบบเดิมไวอาจเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่มีมาต ั้งแตอดีตขณะเดียวกันก็มีการปร ับปรุงใหพระกริ่งบัวรอบนี้เปนพุทธศ ิลปะแบบไทยมากขึ้นเชนล ักษณะพระพักตร หรือฐานบัวคว ่ําบัวหงายท ี่ทํากลี บบัวขนาดใหญสลับเล็กรอบฐานการเปลี่ยนแปลงด ังกลาวอาจต องการใหพระกริ่งบ ัวรอบนี้มีเอกลักษณ ของศิลปกรรมไทยมากขึ้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติการสร างพระกริ่งบัวรอบน ี้ไมมีการระบุ ไวอยางชัดเจนวามีอํานาจพ ุทธคุณเชนไรแตจากพ ุทธลักษณะสวนใหญยังคงร ักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งไวดังน ั้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งบัวรอบก็คงตั้งอยูบนความเชื่อเดิมที่เชื่อก ันมาตั้งแตอดีตวาชวยรักษาโรครายตางๆปองกันและขจ ัดภัยอันตรายสวนป จจุบันนี้ในวงการพระเครื่องเชื่อว าพระกริ่งบัวรอบม ีอํานาจพ ุทธคุณดานเมตตามหานิยมแคล วคลาดคงกระพันชาตรี8

วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจากประว ัติของพระกร ิ่งบัวรอบท ี่สรางขึ้นเพื่อเปนที่ระลึกในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 72 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระ-ญาณวงศจํานวน 300 องค ซึ่งเราไมมีขอม ูลที่เปนเอกสารระบุถึงพ ิธีกรรมในการสรางรวมถึงอํานาจพุทธค ุณไวอยางชัดเจนตั้งแตเมื่อแรกสรางแตการคงร ูปแบบที่เปนพุทธลักษณะสําคัญของพระกริ่งไวก็นาจะเป นเหตุผลที่ทําให เราพิจารณาไดวาอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งบัวรอบน ี้คงเหมือนกับอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่สรางกันในอดีตสําหรับป จจุบันอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งบัวรอบน ี้เชื่อก ันวามีอํานาจพุทธค ุณดานเมตตามหานิยมแคลวคลาดคงกระพ ันชาตรีซึ่ งเปนความเชื่อที่เปลี่ยนจากอด ีตเชนความเชื่อในการปองกันและรักษาโรคภัยตางๆซึ่งพระกร ิ่งเปนพระที่ช วยรักษาโรครายต างๆไดหายไดอาจเน ื่องจากปจจุบันน ี้ความสามารถทางการแพทยในยุคปจจุบันน ี้ดีขึ้นการใชพระกริ่งเพื่อทําน้ํามนตใหผูปวยด ื่มกินโดยหว ังใหอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งทําใหผูปวยหายจากโรคนั้นๆจึงไมเปนที่นิยมสวนด านเมตตามหานิยมนับเปนความเช ื่อใหมในการบ ูชาพระกริ่งอาจเนื่องจากพระเครื่องที่สรางขึ้นในปจจุบันมักน ิยมใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานเมตตามหานิยมเปนสําค ัญพระกริ่งบ ัวรอบอาจรับอิทธิพลของความเชื่อดังกลาวไว ด วยสําหรับความเชื่อดานแคลวคลาดและคงกระพันชาตรีคงเปนความเชื่อที่เปนความเชื่อที่มีมาแต เดิมที่ยังคงไว คืออํานาจพ ุทธคุณในดานปองกันอันตรายต างๆ1.3 พระกร ิ่งไพรีพินาศ (รูปท ี่ 21) ตามประวัติของพระไพร ีพินาศนั้นสมเด็จกรม-พระยาด ํารงราชานุภาพกลาวว าเปนพระพ ุทธรูปแบบมหายานประท ับบนฐานบัวคว่ําบัวหงายพระหัตถ ขวาแสดงปางประทานอภัย81ดังน ั้นพระกริ่งที่ไดชื่ อวาพระกริ่งไพรีพินาศจ ึงมีพุทธล ักษณะที่สําค ัญคลายพระไพรีพินาศด วยคือพระห ัตถขวาแสดงปางประทานอภัยประวัติการสรางพระไพร ีเครื่องพินาศและพระกริ่งไพรีพินาศม ีการสรางขึ้นเปนครั้งแรกพรอมก ันในพ.ศ. 249682ในงานฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศโดยม ีการสรางขึ้น 2 พิมพ คือพ ิมพบัวเหล ี่ยมและพิมพ บัวแหลมซึ่งพ ุทธ-ลักษณะของพระกริ่งไพรีพิ นาศกับพระเครื่ องไพรีพินาศท ี่สรางขึ้นในรุนแรกนี้มีความคล ายกันมากตางก ันที่พระกริ่งไพรีพินาศน ั้นจะมีการพิมพอักษร”ไพร ีพินาศ”ไว ที่ดานหล ังของฐานพระทุกองค 

34วิเคราะห ประวัติการสร างสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศทรงประสูติเมื่อพ.ศ. 241583ดังน ั้นพระองคจะมีพระชนมายุครบ 80 พรรษาในปพ.ศ. 2495 และประวัติการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่วาสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษาของพระองคทานดังน ั้นปที่สร างที่ถูกต องจึงนาจะเปนปพ.ศ. 2495 สวนกรณ ีที่กลาววาพระกริ่งไพรีพินาศสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุของสมเด็จพระส ังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศ ก็มีความเปนไปไดเพราะพระกริ่งไพรีพินาศนั้นก็เปนพระท ี่สรางขึ้นที่วัดว ัดบวรนิเวศนฯนี้และในพ.ศ. 2495 นั้นเป นชวงเวลาท ี่พระองค ทานเป นเจาอาวาสครองวัดบวรน ิเวศนฯ (ทานครองว ัดบวรน ิเวศนฯระหวางพ.ศ. 2464 – พ.ศ. 2501) 84พุทธลักษณะเป นประติมากรรมลอยตัวสรางจากทองคําผสมทองเหลืององคพระมีสีทองพระองคเพรียวบางได สั ดสวนไมมีกลามเนื้อแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับพระศอไมคลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาที่ ขอบจีวรเรียบไม มีตุมไข ปลาชายส ังฆาฏิสั้นพาดไวเหนือพระอังสาซายพระหัตถขวาแสดงปางประทานอภัยคือคลายปางมารวิชัยแต หงายฝาพระห ัตถออกพระหัตถซายวางไว เหนือพระเพลาไมมีหมอน ้ํามนตหรือวัชระบนฝ าพระหัตถพระพักตรคอนขางกลมแบบพระพุทธรูปไทยประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายรอบฐานองคพระพระกร ิ่งไพรีพิ นาศนี้มี 2 พิมพ แบงแยกโดยฐานบัวคือฐานแบบบัวแหลม (รูปท ี่ 21) และฐานแบบบ ัวเหลี่ยม (รูปท ี่ 22) ดานหล ังฐานพระมีอั กษรคําวา”ไพรีพินาศ”จารึกไว ทุกองค วิเคราะหพุทธลักษณะจากขอมูลที่ระบุวาการสร างพระกริ่งไพรีพิ นาศนั้นกําหนดให พระกริ่งทุกองค บริเวณด านหล ังฐานพระตองมีอักษรค ําวา”ไพรีพินาศ”จารึกไว  (รูปท ี่ 23) จึงเป นสิ่งท ี่ชวยให เราพ ิจารณาไดง ายขึ้นว าพระองค ใดเปนพระกร ิ่งไพรีพินาศสวนพุทธล ักษณะของพระไพรีพินาศที่ทําเป นพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายพระพักตรคอนข างกลมพระองค เพรียวไดสัดส วนครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาชายส ังฆาฎิสั้นเหน ือพระอังสาซ ายพระห ัตถขวาแสดงปางประทานอภัยคือคลายปางมารวิชัยแต หงายฝาพระห ัตถออกพระห ัตถซายวางไว บนพระเพลา (รูปท ี่ 24) จากพุทธลักษณะดังกลาวโดยรวมพบวาพระกริ่งไพรีพินาศย ังมีพุทธล ักษณะคลายกับพุทธลักษณะของพระกริ่งทั่วไปเชนการประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายหรือการใสเม็ดโลหะขนาดเล็กไวในองคพระขณะเดียวกันก็มีการปร ับใหมีพุทธล ักษณะแบบไทยมากขึ้นเชนล ักษณะพระเกต ุมาลาเปนเปลวเพลิงพระเกศาขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กคลายพุทธล ักษณะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสวนล ักษณะของพระพักตรที่ค อนขางกลมและชายสังฆาฏิสั้นพาดไว เหนือพระอ ุระดานซายก็คลายก ับพุทธลักษณะ

ของพระพุทธรูปแบบเชียงแสนจากพ ุทธลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นแนวความคิดในการสรางพระกริ่งไพรีพิ นาศวาตองการใหแสดงออกในพุทธศิลปะแบบไทยมากขึ้นนอกจากน ั้นยังไดนําเอาพุทธล ักษณะของพระไพรีพินาศมาผสมเชนพระหัตถขวาที่แสดงปางประทานอภัยและการที่บนพระหัตถซายซ ึ่งวางไวเหนือพระเพลาไมมีหมอน้ํามนตหรือวัชระซึ่งเป นสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งและพระไภษ ัชยคุรุฯบนฝาพระห ัตถอาจเป นแนวคิดที่ตองการแสดงพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระไพรีพินาศให ปรากฏอยางชัดเจนมากกวาแสดงพุทธลักษณะของพระไภษัชยคุรุฯดังนั้นการสรางพระกร ิ่งไพรีพินาศท ี่นําพ ุทธลักษณะพระไพรีพินาศมาเป นตนแบบในการสรางผสมผสานกับพุทธศิลปะแบบไทยเปนการแสดงให เห็นถึงการกําหนดรูปแบบในการสรางพระกริ่งที่วั ดบวรนิเวศนฯนี้ไดเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือไมยึดติ ดรูปแบบเดิมของพระกริ่งที่ปรากฏตามตําราที่เปนหลักการสรางพระกร ิ่งในอดีตแตเม ื่อภายในองค พระย ังบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูภายในและเม ื่อเขยาแล วเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่ งเปนสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งและเป นพุทธล ักษณะที่เปนจุดมุงหมายท ี่สําค ัญในการสร างพระกริ่งตั้งแตเริ่มแรกในทิเบตที่วาพระกริ่งต องเขยาแลวเก ิดเสียงจากการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เองอาจเปนการนําไปสูการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการสรางพระกริ่งในชั้นหลังในประเทศไทยวาพระกร ิ่งที่สรางขึ้นไมวาจะม ีพุทธลักษณะแบบใดมีการแสดงส ัญลักษณที่สําค ัญของพระกริ่ง (การประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวและการถือวัชระหรือหมอน ้ํามนตบนฝาพระห ัตถซาย) หรือไมก็ไม ใชสิ่งส ําคัญแตภายในองคพระยังมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูเพื่อใหเมื่อเขยาองคพระแลวเก ิดเสียงเราก ็ยังเรียกพระท ี่สรางขึ้นเหลานั้นวาพระกริ่งแต ความเชื่อนี้คงไมเปนที่นิ ยมมากน ักเพราะเห็นไดจากการสรางพระกริ่งที่พบในปจจุบันปริมาณพระกร ิ่งที่สรางขึ้นโดยยึดรูปแบบเดิมมีปริมาณการสร างมากกวาสวนพระกร ิ่งที่มีพุทธ-ลักษณะท ี่ต างออกไปไมเปนที่นิยมในการสรางความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติ ของพระไพรีพินาศกล าววามีผูนําพระพ ุทธรูปมาถวายพระจอมเกลาเจาอยูหัวในชวงเวลาใกลเคียงก ับหม อมไกรสรถูกสําเร็จโทษพระองคจึงพระราชทานนามพระพุทธรูปองคนั้นว า”พระไพรีพินาศ”มีอํานาจพ ุทธคุณชวยใหศัตรูแพ พาย85ดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งไพรีพิ นาศจึงเก ิดจากการรวมความเชื่อระหวางพระไภษัชยคุรุฯและพระไพรีพินาศไว ดวยก ันคือปองก ันศัตรูซึ่งเป นความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระไพร ีพินาศรวมกับความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯในเรื่องการปองกันอันตรายแคลวคลาดและคงกระพันชาตรี

วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจะเห็นว าพุทธลักษณะของพระกริ่งไพรีพินาศม ีความใกลเคี ยงก ับพระไพรีพินาศมากกวาพระไภษัชยคุรุฯดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งไพรี-พินาศจ ึงคลายอํานาจพุทธคุณของพระไพรีพินาศในเร ื่องการปองกันศัตรูสวนความเช ื่อเดิมเรื่องชวยขจ ัดโรคภัยหรือชวยร ักษาอาการเจ็บปวยของพระกริ่งก็ไม ไดเปนความเช ื่อที่สําค ัญของพระกริ่งที่สร างในสมัยหลังรวมถึงพระกริ่งไพรีพิ นาศนี้ดวยอาจเนื่องจากความรูทางการแพทยในประเทศไทยไดพัฒนาข ึ้นและไมมีผู ใดนําพระกริ่งไปแช น้ําเพ ื่อทําน้ํามนตในการรักษาโรคอีกดังน ั้นหากพระกริ่งยังคงตั้งอยูบนความเชื่อเดิมอาจทําให ไมมีผูบูชาพระกร ิ่งจึงเก ิดความคิดในการนํารูปแบบอื่นมาผสมผสานเพื่อใหเกิดศรัทธาในอํานาจพุทธคุณที่มากข ึ้นเชนการสร างพระกริ่งไพรีพินาศท ี่นํารูปแบบของพระไพรีพินาศมาผสมผสานเพื่อใหเกิดอํานาจพุทธคุณดานปองกันและขจัดศัตรูเพ ิ่มขึ้นจากตัวอยางที่กลาวมาขางตนเราจึงพอสรุปไดวาจุ ดเริ่ มตนในการสรางพระกริ่งที่วัดน ี้คือการท ี่พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ไดสรางพระกริ่งปวเรศโดยม ีพุทธล ักษณะเหมือนพ ุทธลักษณะของพระกริ่งโดยทั่วไปที่สรางในประเทศตางๆแตขณะเด ียวกันก็มีการผสมผสานลักษณะพ ุทธศิลปะแบบแบบไทยไวดวยเชนล ักษณะของพระพักตรรูปไข พระเนตรโปนเหลือบลงต่ําซึ่งพ ุทธลักษณะพระกร ิ่งแบบเดิมมักทําพระเนตรเล็กเรียวคลายพระพุทธรูปแบบจีนลักษณะการครองจีวรก็เปนแบบไทยมากขึ้นเชนการไมทําต ุมไขปลาที่ขอบจีวรและหลังจากการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นที่วั ดนี้ก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นอี กหลายรุนโดยม ีการนําพุทธศิลปะแบบไทยมาผสมผสานเชนการทํากลี บบัวแบบไทยในพระกริ่งบัวรอบจนถึงการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่ปฏิเสธร ูปแบบที่เปนพุทธลักษณะของพระกริ่งเกือบทั้งหมดแสดงให เห็นวาการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดบวรน ิเวศนฯนี้คงม ีความตองการใหพระกร ิ่งแสดงความงามตามพุทธศิลปะแบบไทยใหมากกวาการยึดในรูปแบบตามที่สรางกันมาแตเดิม2. พระกริ่งกลุมวัดสุทัศน เทพวรารามพระกริ่งที่สรางที่วัดนี้ไดรับความน ิยมในวงการพระเครื่องและม ีความเชื่อถือในอํานาจพุทธค ุณมากเน ื่องจากมีการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้อยางตอเนื่องจนถ ึงปจจุบันเป นเวลานานกวา100 ปและม ีเอกสารตําราประวัติการสร างแตละครั้งระบุไว อยางชัดเจนโดยจุดเริ่ มตนของการสรางพระกริ่งที่วั ดนี้กลาววาเกิดจากการที่สมเด็จพระสังฆราช(แพติสฺสฺเทว) ขณะน ั้นดํารงตําแหนงเปนพระศรีสมโพธ ิ์ทานได ทรงเห็นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่ชวยให พระวันรัต(แดง)พระอุปชฌาย ของพระองคที่อาพาธเป นอหิวาตกโรคใหหายจากอาการอาพาธโดยสมเด็จพระวชิรญาณวโรรสไดรับสั่งให นําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ําพุทธมนตแลวอธ ิฐานขอใหหายจากโรคเมื่อพระวั นรัตฉันท น้ําพ ุทธมนตแลวอาการก ็ทุเลาลงจนหายเปนปกติ87ทําให พระศรี สมโพธิ์เกิดความเลื่

อํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งจึงท ําการศึกษาและค นควาเรื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งรวมถึงต ําราตางๆในการสรางพระกริ่งทั้งด านรูปแบบพิธีกรรมและโลหะที่ใชสร างโดยนําตําราการสรางพระกริ่งมาจากทานเจาคุณมงคลทิพยเจาอาวาสวัดพระเชตุพนฯในพ.ศ. 243288จากน ั้นทานไดเริ่มสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดส ุทัศน รุนแรกในพ.ศ. 2441 และสรางตอเนื่องกันมาตลอดทุกปโดยมีจํานวนสรางตามกําลังว ันที่ทําพ ิธีซึ่งม ักใชวันเพ ็ญเดือน 1289พระกริ่งท ี่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) สรางขึ้นมีทั้งสิ้นประมาณ 1,500 องค90พระกริ่ งที่สําค ัญที่สรางขึ้นที่วัดน ี้เชน2.1 พระกริ่งสมเด็จพระสังฆราช(แพ) รุนเทพโมลี (รู ปที่ 25) เปนพระกริ่งที่สังฆราช(แพ) สรางขึ้นเปนรุนแรกและที่ถูกเร ียกวารุนเทพโมล ีเพราะพระยศของทานขณะสร างนั้นทรงดํารงพระยศเป นพระเทพโมล ีประวัติการสรางตามท ี่กลาวมาแล ววาหลังจากที่สมเด็จพระสังฆราช (แพติสฺสฺเทว) ไดเห็นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งในการรักษาพระวันรัต(แดง) พระอ ุปชฌาย ของพระองคใหหายจากอาการอาพาธทานจ ึงไดศึกษาเร ื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งและไดรับต ําราในการสรางพระกริ่งซึ่งเชื่อก ันวาตํารานี้ตกทอดกันมาจากพระพนรัตวัดปาแก วจากนั้นในพ.ศ. 2441 ทานได เปนเจาอาวาสวัดสุทัศน ฯพรอมกับไดรับพระราชทานยศเปนพระเทพโมลี91จึงเริ่มม ีการสรางพระกริ่งของวัดสุทัศนเทพวรารามขึ้นเปนครั้งแรก92เรียกวา”พระกริ่งรุนเทพโมล ี”โดยใชตําราพิธีกรรมและชนิดโลหะตามที่มีมาแตโบราณการสรางพระกริ่งเทพโมลีขึ้นท ี่วัดส ุทัศน เทพวรารามนี้มีการสร างเพียง 9 องคเทานั้นและพระกร ิ่งทุกองคที่สร างขึ้นจะมีตั วเลขลําด ับกํากับไวที่ฐานขององคพระทุกองค  (รูปท ี่ 26) วิเคราะหดานประวัติการสร างตามท ี่ไดกลาวมาแลวในเร ื่องของตําราที่ใชในการสร างพระกริ่งวาเรายังไมสามารถหาหลักฐานมายืนยันขอม ูลดังกลาวได อยางชัดเจนดังการสร างพระกริ่งของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ที่กล าวว าไดรับต ําราการสรางพระกริ่งมาจากพระพุฒาจารย (มา) วัดจ ักรวรรดิ์ราชาวาสซึ่งรับส ืบทอดกันมาจากพระพนรัตวัดปาแก วในสมัยอยุธยาคงเปนขอม ูลที่ยังไม สามารถระบุไดอยางชัดเจนวามีตําราในการสร างจริงแตถาเราด ูตามรูปแบบขององคพระกริ่งรุนเทพโมลีที่สมเด ็จพระสังฆราช(แพ)สรางขึ้นนี้พบวามีพุทธล ักษณะที่ตางก ันกับพระกริ่งปวเรศซึ่งหากม ีตําราในการสร างที่แนนอนและมีการสืบทอดตําราก ันมาจริงรูปแบบขององคพระก็นาจะ

เหมือนก ันหรือมีความใกลเคียงกันดังน ั้นหากจะสรุปเกี่ยวกับตําราการสรางพระกริ่งที่มีการกล าวอางก ันอยูเสมอวารับส ืบทอดกันมาต ั้งแต สมัยอยุธยาจากพระพนรัตคงเปนเรื่องท ี่กลาวอางก ันขึ้ นมาเพื่อใหพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมนี้เก ิดความน าเชื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเทาเทียมกับพระกริ่งที่เคยสรางในอดีตจากค ํากลาวอ างที่วาเป นการสรางตามพิธีกรรมและว ัสดุที่มีมาแต เดิมนั้นเองสวนข อมูลที่กลาววาสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ได สรางพระกริ่งรุนเทพโมล ีขึ้นเป นครั้งแรกในพ.ศ. 2441 นั้นคงเปนขอม ูลที่ยืนย ันไดเพราะตามประวัติ ของทานไดรับพระราชทานยศเปนพระเทพโมลีเมื่อพ.ศ. 244193และพระกร ิ่งเทพโมลีก็คงเปนพระกริ่งที่ทานสร างขึ้นเปนครั้งแรกและนาจะหลังจากท ี่ทานได เปนเจาอาวาสครองว ัดสุทัศน แลวนั้ นเองแตพระกร ิ่งรุนเทพโมล ีนี้อาจไมใชพระกร ิ่งรุนแรกของวัดสุทัศน เพราะได พบพระกริ่งอยูในบาตรเกาเก็บไวบนหลังคาศาลาการเปรียญในพ.ศ. 2482 แตไม สามรถระบุผู สรางได94 (รูปท ี่ 27) สวนเรื่องจ ํานวนในการสรางที่กลาววาพระกริ่งรุนเทพโมลีนี้มีการสร างขึ้นเพียง 9 องคเทานั้นเนื่องจากที่ใตฐานพระกร ิ่งทุกองคที่สรางขึ้นในรุนนี้จะมีตั วเลขกํากับไวจึงเป นหลักฐานที่ชั ดเจนที่ช วยยืนยันไดถึงจ ํานวนที่สรางพุทธลักษณะพุทธล ักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งรุนเทพโมล ีคือเป นประติมากรรมลอยตัวสรางจากนวโลหะสีดําสูงจากฐานถ ึงยอดประมาณ 4 ซ.ม. ประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงาย 7 คูฐานดานหลังเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเหลือบมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนก ัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารั ศมีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับที่พระศอไมคลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาที่ขอบชายจีวรทําเปนตุมคลายไขปลาเหมื อนที่พบในพระกริ่งใหญของจ ีนในองคพระบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งซ ึ่งสรางจากเนื้อนวโลหะพรอมปลุกเสกเช นเดียวกับโลหะที่นํามาสร างองคพระจากนั้นอุดฐานด วยโลหะชนิดเดียวกับที่ทําองค พระแลวจารึกเลขไทยบอกลําดับไวตั้งแต  1 – 9 ซึ่งเป นจํานวนที่สรางพระกริ่งรุนเทพโมล ีนี้ขึ้นวิเคราะหพุทธลักษณะตามประว ัติการสร างพระกริ่งรุนเทพโมล ีนี้กล าววาไดตําราการสรางมาจากพระพนรัตวัดป าแกวนับเป นตําราเดียวกับตําราการสรางพระกริ่งปวเรศซึ่งในส วนของตําราการสร างนั้นไดกลาวไปแลวในตอนตนวาไมสามารถระบุไดชัดเจนว ามีตําราด ังกลาวจร ิงขณะเดียวกันพุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีนี้มีพุทธล ักษณะที่ตางจากพระกร ิ่งปวเรศหลายประการแสดงใหเห็นวาไมไดยึดร ูปแบบการสรางตามตําราเดียวกันแตพุทธล ักษณะของพระกริ่งเทพโมลีนี้แสดงใหเห็นการผสมผสานรูปแบบของการสรางพระกริ่งที่เคยปรากฏในประเทศตางๆเริ่มจากการทํากลีบบัวคว่ําบัวหงายบร ิเวณดานหนา 7 คูสวนดานหลังเปนฐานเรียบเชนเดียวกับ

ลักษณะฐานบ ัวคว่ําบัวหงายของงพระกริ่งที่เคยสรางในประเทศจีนทิเบตและก ัมพูชาแตกล ีบบัวมีความเปนเหลี่ยมมากกวาลักษณะพระพ ักตรคอนข างกลมคลายพระพักตรของพระกริ่งบาเก็งที่พบในประเทศกัมพูชา (รูปท ี่ 13) บนพระหัตถซายทรงถ ือวัชระเป นอิทธ ิพลที่นาจะได รับมาจากทิเบตหร ือจีนที่นิยมสร างพระกริ่งโดยที่บนพระห ัตถซายถ ือวัชระขณะที่พระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพูชาในพระหัตถซายน ิยมถือหมอน ้ํามนตที่ขอบชายจ ีวรทําเป นตุมคลายไขปลาเหมือนลักษณะพระกริ่งของทิเบตและจีนเปนตนดังนั้นจากพุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีดังกลาวที่มีความคล ายกับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศตางๆเชนประเทศทิเบตประเทศจีนและประเทศกัมพูชาแสดงใหเห็นวาสมเด็จพระสังฆราช (แพ) คงท ําการศึกษารูปแบบในการสรางพระกริ่งจากพุทธลักษณะของพระกริ่งในประเทศตางๆเหลานั้นแลวนํามาเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งเทพโมลีนี้ทําให พระกร ิ่งที่พระองคสรางขึ้นนี้มีพุทธล ักษณะที่เกิดจากการผสมผสานรูปแบบของพระกริ่งที่เราพบในประเทศตางๆเหลานั้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติการสร างพระกริ่งเทพโมลีนี้มีการสร างขึ้นจํานวน 9 องค เพื่อแจกจายแกเจ านายคนสนิทเทานั้นซึ่งคงสร างขึ้นเพื่อใหคนเหลานั้นใชเปนเครื่องรางสําหรับพกต ิดตั วเพื่อปองกันภัยอันตรายแมไม มีการระบุไว อยางแนชัดของอ ํานาจพุทธค ุณของพระกริ่งเทพโมลีแตในป จจุบันเชื่อวาพระกร ิ่งรุนน ี้มีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติเมตตามหานิยมและดลบันดาลใหผูบ ูชาประสบแตความสุขความเจริญ95วิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณการท ี่พระกริ่งรุนน ี้สรางขึ้นเพียง 9 องค อาจเปนการทดลองสรางพระกริ่งขึ้นหลังจากท ี่ไดศึกษาคนคว ามานานและเพื่อทดสอบว าพระกริ่งที่สรางขึ้นมีอํานาจพ ุทธคุณเปนที่ศรัทธาเท ากับพระกริ่งในอดีตหรือไมแตความเช ื่อในการรักษาผูเจ็บปวยใหหายที่เคยเป นความเชื่อหลักในการสรางพระกริ่งในอดีตไมปรากฏวาเปนอํานาจพ ุทธคุณที่ยอมรับของพระกริ่งรุนน ี้อาจเนื่องมาจากการสาธารณะสุขที่ดีขึ้นทําให ไมมีการใช น้ํามนต ในการรักษาโรคและจากพระกริ่งรุนน ี้จึงไม ไดรับความเช ื่อในอ ํานาจพุทธคุณดานรักษาโรคจึงเปล ี่ยนของที่ถือในพระหัตถซายเป นวัชระแทนเพื่อใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตราย2.2 พระกร ิ่งสมเด็จพระสังฆราช(แพ) รุนพรหมมุนี (รูปท ี่ 28) เปนชื่ อเรียกพระกร ิ่งที่พระองคทรงสรางขึ้นทุกประหว างพ.ศ. 2458-246696มาจากพระยศของทานขณะนั้นที่ทรงดํารงพระยศเปนพระพรห

ประวัติการสร างหล ังจากที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ได สรางพระกริ่งเทพโมลีขึ้นเปนรุนแรกที่วั ดสุทัศน เทพวรารามในพ.ศ. 2441 แล วหลังจากนั้นทุกวันเพ็ญเดือน 12 ทานได สรางพระกริ่งขึ้นเปนประจําทุกป ตามกําลังว ันในปนั้นๆเชนระหว างพ.ศ. 2441-2443 ไดสรางพระกริ่งเทพโมลีรุนแขนต ันขึ้น97รุนปลัดจ ิ๋วในพ.ศ. 245598รุนเขมรน อยในพ.ศ. 245699และเมื่อพระองคไดรับพระราชทานยศเปนพระพรหมม ุนีทานได สรางพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องพระกร ิ่งที่สรางขึ้นในระหวางพ.ศ. 2458-2466 เรียกวาพระกริ่งรุนพรหมมุนีตามพระยศของทานขณะที่สรางนั้นโดยตามประวัติการสร างกลาววาไดใหชางถอดแบบมาจากพระกริ่งของจีนวิเคราะหดานประวัติการสร างตามประว ัติของพระองค ทานได รับพระราชทานยศเปนพระพรหมมุนี ในพ.ศ. 2455100และในปพ.ศ. 2466 พระองคไดเลื่อนพระยศเปนสมเด็จพุฒาจารย101ซึ่งท านไดดํารงพระยศเป นพระพรหมมุนีนั้ นอยูระหวางพ.ศ. 2455-2466 ซึ่งหากพระกริ่งรุนน ี้เปนชื่อเรียกพระกร ิ่งที่สรางขึ้นหลังจากที่ไดรับพระยศเป นพระพรหมม ุนี แลวพระกริ่งที่สรางขึ้นในระหวางพ.ศ. 2455-2466 ก็ ควรถูกเรียกว าพระกร ิ่งรุนพรหมม ุนีทั้งหมดแตในพ.ศ. 2455 พระกริ่งที่สรางขึ้นทานเรียกวา”พระกริ่งรุนปลัดจ ิ๋ว”เพราะวาปลัดจ ิ๋วเปนผ ูตกแต งองคพระกริ่งรุนนี้หลักจากที่หลอเสร็จแลวตอมาช วงระหวางพ.ศ.2456-2458 พระองคทานได สรางพระกริ่งขึ้นอีกโดยเรี ยกพระกริ่งรุนน ี้วา”พระกริ่งเขมรนอย”102เพราะพระองคไดถอดแบบมาจากพระกริ่งขอมและมีการตกแตงพระพักตรก็ใช การขุดใหเปนรอยซึ่งต างจากการทําในอดีตสวนระหว างพ.ศ. 2458-2466 พระกริ่งที่สร างขึ้นในชวงเวลานี้ไดถอดแบบการสรางมาจากพระกริ่งจีนและถูกเรียกว า “รุนพรหมมุนี” อาจเนื่องมาจากพระองคไมไดกํ าหนดชื่อเรี ยกตั้งแตแรกดังน ั้นในวงการพระเครื่องจึงใชพระยศของทานในขณะสรางมาเปนชื่อเร ียกรุนของพระกร ิ่งเชนที่เคยเรียกมาตั้งแต การสรางในรุนแรกสวนพระกริ่งที่สรางขึ้นระหวางพ.ศ. 2455-2458 ไมถูกเรียกว ารุนพรหมม ุนีนั้นอาจมาจากพระองคไดกําหนดช ื่อเรียกไวตั้งแต แรกสร างอีกทั้งพ ุทธลักษณะก็ตางก ันกับพระกร ิ่งที่สรางระหวางพ.ศ. 2458-2466 สวนประวัติการสร างของพระกริ่งพรหมมุนีที่กล าววานําพระกริ่งจีนมาเปนตนแบบจะกลาวถึงในสวนวิเคราะหพุทธล ักษณ

พุทธล ักษณะสรางจากนวโลหะสีดําทําเป นประติมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหน าสวนด านหลังฐานพระเรียบไมมีลวดลายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเครื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบชายจีวรไมมีตุมคลายไขปลาที่พระศอไม คลองลูกประค ําพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเปนแบบจีนคือเป นเสนตรงปลายชี้ขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมการสรางในแตละป มีความแตกตางกันบางเชนพระวรกายที่หนาบางไมเทากันขนาดของฐานบัวคว่ําบัวหงายที่สูงต ่ําไมเทากันแตความส ูงขององคพระจากฐานถึงสวนบนส ุดประมาณ 4 ซ.ม. วิเคราะหพุทธลักษณะตามประว ัติการสร างกลาววาสมเด ็จพระส ังฆราช(แพ) ไดใหชางถอดแบบการสรางจากพระกริ่งจีน (รู ปที่ 9) ดังน ั้นพระกริ่งพรหมมุนีนี้จึงม ีพุทธล ักษณะคลายพระกร ิ่งจีนเชนล ักษณะพระพ ักตรที่คอนข างกลมพระเนตรเร ียวเล็กปลายชี้ขึ้นล ักษณะของฐานบัวคว ่ําบัวหงายที่กล ีบบัวโคงมนพระหัตถซายถ ือวัชระแตก็มีพุทธล ักษณะบางอยางที่ตางออกไปโดยแสดงความเปนพุทธศิลปะแบบไทยมากขึ้นเชนที่ขอบชายจีวรไมมีการสรางตุมไขปลาซึ่งเป นพุทธลักษณะพระพ ุทธรูปแบบการไมมีลายตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรนี้อาจเนื่องจากไมใชลักษณะของจ ีวรที่พระสงฆ ไทยใชดังน ั้นพระองค จึงอาจไม โปรดใหมีการท ําลวดลายด ังกล าวท ี่ขอบจีวรจากพุทธลักษณะโดยรวมพบวาพระกริ่งรุนพรหมมุนีนี้มีพุทธล ักษณะใกลเคียงก ับพุทธล ักษณะของพระกริ่งจีนทั้งลักษณะของพระพักตรพระเนตรจะมีแตกตางไปบางในเรื่องของการที่ขอบชายจีวรไมมีลายตุ มไขปลาดังน ั้นการกลาววาพระกริ่งรุนน ี้ไดถอดแบบการสรางมาจากพระกริ่งจีนจึงมีความเปนไปไดความเชื่อในอํานาจพุทธคุณเม ื่อสมเด็จพระสังฆราช (แพ) สรางพระกริ่งรุนพรหมม ุนีขึ้นท านไมไดระบุอยางชัดเจนวาพระกริ่งนี้มีอํานาจพ ุทธคุณพิเศษในด านใดแตอํานาจพ ุทธคุณที่เปนที่เชื่อถ ือในวงการพระเครื่องเชื่อก ันวาพระกริ่งทุกรุนที่สรางโดยสมเด็จพระสังฆราช(แพ) นั้ นมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติดลบันดาลใหผูบูชาประสบแตความสุขความเจริญและเมตตามหานิยม103 (จากวิธีการสร างและวัตถุที่นํามาสร างที่เหมือนก ัน) ขณะเดียวกันเมื่อพุทธลักษณะของพระกริ่งพรหมมุนีโดยรวมคล ายพระกริ่งจีนดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกร ิ่งรุนน ี้จึงคลายพระกร ิ่งจีนดวยคือผ ูทําการบูชาจะพบกับความสําเร็จสมหวังทุกประกา

42วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช(แพ) สรางขึ้นในแตละปจะมีพุทธล ักษณะที่ตางก ันไปมากบางนอยบ างแตเน ื่องจากความเชื่อที่วาในการสรางพระกริ่งของทานทุกครั้งจะใชวัตถ ุมงคลในการสรางที่เหมือนเด ิมและว ิธีการสร างที่ถูกตองตามต ําราแบบเดิมทุกครั้งดังน ั้นแมไมมีการกําหนดวาพระกริ่งในแตละรุนที่สรางขึ้นจะมีอํานาจพ ุทธคุณเดนในดานใดแตเม ื่อสรางตามตําราเดิมจึงเกิดความเช ื่อที่วาพระกริ่งท ี่ทานสร างทุกรุนม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติดลบันดาลใหผูบูชาประสบแตความสุขความเจริญและเมตตามหานิ ยมขณะเด ียวกันเมื่อรูปแบบท ี่แตกตางไปจากการน ําพระกร ิ่งของประเทศอื่นมาเปนตนแบบในการสรางจึงเกิดการผสมผสานในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งอื่นๆแตที่สําคัญที่สุดพบวาการสรางพระกร ิ่งของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ตั้ งแตเริ่มตนจนถึงรุนส ุดทายไม เคยมีความเชื่อดานการน ําพระกร ิ่งไปแชในน้ําเพื่อทําน้ํามนตใหผูเจ ็บปวยไดดื่มก ินซึ่งเป นจุดเริ่มตนที่ทําใหพระองคสนใจในการศึกษาและสรางพระกริ่งซึ่งอาจเน ื่องจากการสาธารณะสุขที่ดีขึ้นตามที่กล าวมาแลวหรืออาจเน ื่องจากความเชื่อดังกล าวเปนความเช ื่อในการบูชาพระกริ่งปวเรศและผูคนทั่วไปและกษัตริยก็ ใหความศรัทธากับพระกริ่งปวเรศในการใชทําน ้ํามนตมากกวาขณะเดียวกันพุทธ-ลักษณะท ี่พระหัตถซายถ ือวัชระไมไดถือหม อน้ํามนตก็อาจเป นอี กเหตุผลหนึ่งที่พระกริ่งที่สมเด ็จ-พระสังฆราช(แพ) สร างขึ้นไมเคยไดรับศร ัทธาในการบูชาเพื่อใชทําน ้ํามนตรักษาผ ูเจ็บปวย2.3 พระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนอุดผงอ ุดพระเกศา (รูปท ี่ 29) เจ าคุณศรี(สนธิ์)ไดบวชเปนพระท ี่วัดส ุทัศน โดยสมเด็จพระส ังฆราช (แพ) เปนพระอุปชฌาย ตามประว ัติทานเจ าคุณศร ีนั้นเป นผูใกลชิดและได รับการถ ายทอดการวิธีการสร างพระกริ่งจากสมเด็จพระส ังฆราช(แพ) จนสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ตรัสวา”มหาสนธิ์เขาจะแทนฉัน”105สวนพระกร ิ่งรุนน ี้ที่เรี ยกวา”รุนอ ุดผงอุดพระเกศา”เนื่องจากมีการน ําพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมในการสรางประวัติการสรางเน ื่องจากพระครูวินั ยกรณโสภณซึ่งขณะน ั้นไดบวชอย ูที่วัดสุทัศน ฯจากการที่ทานเปนคนนครนายกจึงต องการหาทุนในการสรางโรงเรียนที่วัดชางอํ าเภอบานนาจึงขอใหเจาคุณศร ีสรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใช หาทุนในการสรางโรงเรียนซึ่งท านเจาคุณศร ีก็ได ทําการสรางใหจํานวน 400 องค โดยแบ งไวที่วัดส ุทัศน  100 องค และให นํ าไปหาทุนสรางโรงเรียน 300 องค106พระกริ่งรุนนี้ไดทําการสร างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2484 ซึ่งในการสรางไดมีการน ําพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) มาเป นสวนผสมในการสรางทําใหพระกร ิ่งรุนนี้มีชื่อเรียกว า “รุนอุดผงอ ุดพระเกศา” ขณะเดียวกันพระกริ่งที่สรางขึ้นนี้ไดสรางขึ้นเพื่อหวังประโยชนในการหาทุนสรางโรงเรียนที่วัดช างบางท านจึงเรียกพระกร ิ่งรุนน ี้วา”พระกริ่งว ัดชาง”

วิเคราะห ดานประว ัติการสร างจากประวัติดานการสร างสวนที่พอระบุความไดชัดเจนคงเป นเรื่องของจุดมุงหมายในการสรางของพระกริ่งรุนน ี้ที่สร างขึ้นเพื่อหาทุนในการสรางโรงเรียนว ัดชางอ.บานนาจ.นครนายกเพราะพระกริ่งรุนน ี้ในวงการพระเครื่องมักเรียกก ันวา”พระกริ่งวัดช าง” สวนผ ูดําเน ินการสรางที่ระบุวาเป นเจาคุณศรีนั้นก ็นาจะเป นไปไดแมรูปแบบการสรางทั่วไปจะไมมีความแตกต างกับพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) สรางก็ตามแตวัสด ุที่นํามาสรางมีการนําผงพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมแสดงให เห็นความแตกตางจากตําราเดิมที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) ใชสรางมาตั้งแตพ.ศ. 2441 และการนําผงพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมในการสรางก็คงเปนไปได เพราะพระกริ่งรุนน ี้ในวงการพระเครื่องมักเรียกกันวา “รุ นอุดผงอ ุดพระเกศา” สวนเรื่องป พ.ศ. ในการสรางและจํานวนในการสรางเราคงไมสามารถหาขอมูลมาชวยยื นยันไดนอกจากหล ักฐานทางเอกสารที่มีการระบุไว ในหนังสือท ําเนียบพระกริ่งพระช ัยวัฒนเทานั้นพุทธลักษณะพระกริ่งเจาคุณศรีรุนอุดผงอ ุดพระเกศานั้นมีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งใหญของจีนคือเป นประติมากรรมลอยตัวสร างจากนวโลหะสีเหลืองทองประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไมมีลวดลายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรห มเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งทางดานหนาและดานหลัง (รูปท ี่ 30) พระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเป นเสนตรงเป นแบบจีนเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ ดโลหะหรือล ูกกริ่งอย ูขางในขณะเดียวกันที่ฐานขององคพระมีผงว ิเศษบรรจุไวเชนพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ผงสมเด ็จวัดระฆังวิเคราะหพุทธลักษณะจากพ ุทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนน ี้มีความใกลเคี ยงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นคือคลายก ับพระกริ่งจีนซึ่งสมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) ไดใชพระกริ่งจ ีนเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งของทานต ั้งแตพ.ศ.2458 ซึ่งพ ุทธลักษณะที่คลายก ับพระกริ่งจีนหรือแสดงอิทธิพลของพระกริ่งจีนเชนลักษณะของพระพักตรที่คอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวแหลมขอบชายจ ีวรทําเป นลายตุมไขปลาเริ่มตั้งแตพระอังสาซายผานลงมาถึงซอกพระกรดานซายแสดงให เห็นการกลับไปยึดรูปแบบการสรางที่เคยสรางตั้งแตพระกริ่งเทพโมลีเพราะพระกริ่งที่สรางที่วัดส ุทัศน ฯในช วงหลังไมนิ ยมทําตุมไข ปลาที่ขอบชายจีวรอาจเน ื่องจากเปนพระกริ่งท ี่เจาคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นในชวงแรกๆจึงต องใหมีพุทธล ักษณะที่ใกลเคียงพระกริ่งท ี่เคยสรางในอดีตเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธาวาทานเปนผูที่ได รับส ืบทอดตําราและพิธีกรรมในการสรางพระกริ่งตามตําราที่มีมาแต เดิมจากสมเด็จพระสังฆราช (แพ) รวมถึงเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณที่ทานเจ าคุณศรีสร างขึ้นวาเหมือนก ับอํานาจพุทธคุณในพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) สร 

ความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณพระกร ิ่งที่เจาคุณศรี (สนธิ์) สร างขึ้นรุนนี้นั้นในประว ัติการสรางไมมีการกล าวถึงอํ านาจพุทธคุณไวอยางชัดเจนแตในวงการพระเครื่องก็ถือว าพระกริ่งที่เจาคุณศรีสร างขึ้นทุกรุนมีอํ านาจพุทธคุณที่เสมอพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางเนื่องจากใชตําราและพ ิธีกรรมแบบเด ียวกันในการสรางอีกทั้งจากพ ุทธลักษณะที่ปรากฏก็ไมไดแตกตางจากพุทธลักษณะที่มีมาแตเดิมในการสร างพระกริ่งดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งของเจาคุณศรี (สนธิ์) รุนอ ุดผงอุดพระเกศาจึงได รับการยอมร ับวามีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาด107วิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณจากประวัติการสร างพระกริ่งของวัดสุทัศน ฯพบวาทานเจาคุณศรี(สนธิ์)เปนผูชวยสมเด ็จพระสังฆราช(แพ) ในการหลอพระกริ่งอย ูเสมออีกทั้งย ังเปนผูไดรับสืบทอดตําราการสรางพระกริ่งนอกจากนั้นสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ยังได ตรัสว า”มหา-สนธิ์เขาจะแทนฉัน” แสดงใหเห็นวาทานคุณศรี (สนธิ์) เปนผูที่ได รั บถายทอดความรูในการสรางพระกริ่งสายวัดสุทัศนเทพวรารามมาจากสมเด็จพระสังฆราช (แพ) โดยตรงดั งนั้นพระกริ่งในรุนตางๆท ี่เจาคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นนั้นในวงการพระเครื่องก็ใหความศรัทธาและเชื่อม ั่นในอํานาจพุทธค ุณเชนเด ียวกับพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) สรางขึ้นนอกจากน ั้นพระกริ่งรุนน ี้ยังม ีการบรรจุผงวิเศษตางๆเชนพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ผงพระวัดสามปลื้มผงพระเก ามาเปนสวนผสมในการสรางก็นาจะเป นสิ่งกระต ุนใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้มากขึ้นซึ่งก ็คงเปนอ ํานาจพุทธคุณในดานการปองกันอันตรายและแคลวคลาดที่เป นอํานาจพุทธค ุณที่สําค ัญของพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดน ี้2.4 พระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนประภามณฑล (รูปท ี่ 31) พระกริ่งประภามณฑลนี้เจาคุณศรีได สรางขึ้นหลายรุนในชวงพ.ศ. 2485 – 2487 ซึ่งนับเปนพระกริ่งที่ทานเจ าคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นโดยมีลักษณะต างจากพระกริ่งที่เคยสรางก ันมาในอดีตที่วั ดนี้โดยสาเหตุที่เรียกพระกร ิ่งเหลานั้นวาพระกริ่งรุนประภามณฑลเนื่องจากที่บริเวณด านหลังของเศียรพระมีการสรางเปนประภามณฑลขึ้นมาประวัติการสร างในชวงพ.ศ. 2485 ทานเจาคุณศรี (สนธิ์) ไดสรางพระกริ่งที่มีประภามณฑลขึ้นบริเวณดานหล ังเศียรพระทั้งสิ้น 4 รุนโดยรุนที่ 1 สร างจํานวน 10 องครุนที่ 2 สรางจํานวน 40 องค รุนที่ 3 สร างจํานวน 4 องค รุนที่ 4 สร างจํานวน 300 องค และในพ.ศ. 2487 ไดสรางขึ้นเปนรุนที่ 5 จํานวน 5 องค สรางขึ้นเพื่อใชตั้งบ ูชาหรือทําน้ํามนต

วิเคราะห ประวัติการสร างเน ื่องจากมีการระบุในเร ื่องจํานวนและปที่สร างไว อยางชัดเจนจึงเป นเครื่องยืนยันถึงประวัติการสรางของพระกริ่งรุนน ี้ขณะเด ียวกันในการสรางพระกริ่งประภามณฑลขึ้นในรุนที่ 4 ในวันที่ 6 ตุลาคม 2485108ซึ่งช วงนั้นเกิดน้ําทวมครั้งใหญ ในกรุงเทพฯดังน ั้นพระกร ิ่งประภามณฑลรุนที่ 4 จึงม ีชื่อเรียกอ ีกอย างวา “รุนน ้ําทวม” ซึ่งเป นเครื่องชวยยืนยันถึงป ที่ทําการสร างพระกริ่งประภามณฑลสวนจ ํานวนในการสรางในแตละรุนน ั้นนอกจากมีเอกสารระบุถึงจ ํานวนในการสรางไวอยางชัดเจนแลวในแตละรุนย ังใช วัสด ุในการสรางที่ตางก ันเชนรุนที่ 1 ใชสําร ิดรุนท ี่ 4 ใชโลหะทองผสมรุนท ี่ 5 ใชโลหะเงินลวนซึ่งเป นเครื่องชวยยื นยันจํานวนสร างในแตละรุนพุทธลักษณะพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลมีพุทธลักษณะทั่วไปคลายลักษณะของพุทธศิลปะแบบไทยโดยท ําเปนประต ิมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางดานหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายกลีบบัวมีขนาดเล็กและโคงมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน้ํามนตแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบจีวรไมมีตุมไข ปลาคลายล ักษณะจีวรตามพุทธศ ิลปะแบบไทยพระพั กตรสี่เหล ี่ยมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมพระเนตรเหลือบมองลงต่ําบริเวณด านหลังของเศียรพระสรางเปนประภามณฑลขึ้นมาภายในองคพระยังคงบรรจุเม็ดโลหะอย ูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะพุ ทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลจะเห็นวามีการเปลี่ยนแปลงให มีความเป นไทยมากขึ้นและไมยึดติ ดกับรูปแบบท ี่เคยสรางตั้งแตรุนแรกของวัดสุทัศน ฯนี้เชนล ักษณะของพระพักตรที่เปลี่ ยนจากล ักษณะกลมเปนสี่เหล ี่ยมพระเนตรท ี่เคยทําเรียวเล ็กแบบจีนก็ทําพระเนตรโปนเหลือบมองลงต่ําแบบไทยการครองจีวรก็ไมทําต ุมไขปลาที่ขอบชายจีวรอยางที่เคยท ําในพระกริ่งแบบจีนสวนว ัตถุที่ถืออย ูบนก็เปลี่ ยนเปนหมอน ้ํามนตซึ่งอาจเพ ื่อเปลี่ยนแปลงดานความเช ื่อนอกจากน ั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะที่สําค ัญของการสรางพระกริ่งคือการสรางประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระซึ่งอาจเน ื่องจากใหมีเอกลักษณและแสดงความเปนไทยมากขึ้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามที่ไดกลาวมาแล ววาพระกร ิ่งที่เจาคุณศรี (สนธิ์) สร างขึ้นไม มีการกล าวถึงอํานาจพ ุทธคุณไวอยางชัดเจนแต ในวงการพระเครื่องก็ถือว าพระกร ิ่งที่เจาคุณศรีสร างขึ้นทุกรุนมีอํานาจพ ุทธคุณที่เสมอพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางคือม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดดั งนั้นพระกริ่งรุนน ี้ของทานเจาคุณศรี(สนธิ์)ก็ไดรับศร ัทธาในอํานาจพุทธคุณดานดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดด วยเช

วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจากการสรางพระกริ่งของเจาคุณศรีได ยึดการสรางตามตําราเดิมดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณก็เหมือนท ี่เคยย ึดถือในอดีตคือแคลวคลาดและปองก ันอันตรายแตขณะเด ียวกันจากพุทธลักษณะของพระกริ่งรุนน ี้ที่มีการเปล ี่ยนแปลงไปจากเดิมเชนการท ําประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระหรือทําหมอน้ํามนตไวบนพระห ัตถซายแทนวัชระก็อาจท ําใหเกิดความเชื่อในการบูชาพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลใหมคืออาจสร างขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีในการทํ าน้ํามนตในงานพิธีตางๆแตคงไม ไดใชเพ ื่อทําน้ํามนตใหผูปวยดื่มเหมือนความเช ื่อในการสรางพระกริ่งที่บนหม อน้ํามนตบนพระหัตถซายของพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดบวรนิเวศนฯนอกจากนั้นเราจะเห็นวาการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดส ุทัศน นี้ตั้งแต รุ นแรกสวนมากมีความสูงตั้งแตฐานถึงสวนบนสุดไมเกิน 4 ซม. แต เมื่อพระกริ่งเจ าคุณศรีรุนประภามณฑลมีการสรางประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระทําให ความสูงโดยรวมขององคพระมีความส ูงขึ้นจึงไมเหมาะที่จะนํามาพกพานําติดตัวแสดงใหเห็นถึงจุดประสงคหลักที่สร างพระกริ่งรุนน ี้ไมไดตองการให นําต ิดตัวดังน ั้นอํ านาจพุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้อาจไม เนนในเรื่องการปองกันอันตรายแคลวคลาดขณะที่เดินทาง2.5 พระกร ิ่งจักรพรรดิ (รูปที่ 32) ในชวงเวลาที่จั ดทําสารนิพนธนี้ (มีนาคม 2547)พระกริ่งจักรพรรดินี้นับเป นพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนรุนหลังสุดของว ัดสุทัศน ฯโดยที่เร ียกวาพระกริ่งจักรพรรด ินั้นเน ื่องจากฤกษที่ใชในการสร างเปนราชาฤกษประวัติการสรางพระกร ิ่งจักรพรรดิสรางขึ้นเมื่อ 1 กุมภาพ ันธ 2546 เป นพระกริ่งท ี่สรางขึ้นโดยพระวิสุทธาธ ิบดีเจ าอาวาสองคที่ 7 ของว ัดสุทัศน ฯสร างขึ้นจํานวน 2,116 องคโดยแบงเป นชนิดโลหะต างๆเชนเน ื้อทองคําจํานวน 27 องค เน ื้อนาค 1 องค เน ื้อนวโลหะ 672 องคเปนตน109โดยการสรางยังใช วิธีการในการสรางรวมถึงวัสดุที่นํามาสร างตามแบบเดิมของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) วิเคราะหประวัติการสรางเนื่องจากการสรางพระกริ่งจักรพรรดิเพิ่งมีการจัดสรางขึ้นจึงม ีการบันทึกขอม ูลในการสรางไวในท ุกขั้นตอนรวมถึงว ันที่ทําพ ิธีกรรมต างๆจํานวนในการสรางซึ่งเปนขอม ูลที่มีความช ัดเจนและถูกตอง110ซึ่งสามารถตรวจสอบไดอยางชัดเจนจากเอกสารการสรางพระกริ่งรุนน ี้

47พุทธล ักษณะกล าวกันวาพระกริ่งจักรพรรดิไดใชตําราในการสร างตามแบบของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) คือสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายแต มีการตอกโค ดในการสรางไวเชนตัว “ภ” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจีวรมีตุ มคลายไขปลาหรือลูกประค ําทั้งทางดานหนาและดานหลัง (รูปท ี่ 32 และ 33) แตสวนของชายจีวรที่พาดผานข อพระห ัตถซายท ําเรียบไมมีตุมไข ปลาพระพั กตรคอนข างกลมพระเนตรเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นตามแบบจีนเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะอย ูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะจะเห ็นวาพุทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งจักรพรรดินี้ใกลเคียงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นทั้งลักษณะการท ําพระพักตรที่ค อนขางกลมการทําพระเนตรเรียวเล็กปลายเฉ ียงขึ้นการท ําตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรเพราะพระองคทานได ถอดแบบการสรางพระกริ่งมาจากพระกริ่งจีนตามที่ไดกลาวมาแลวจึงท ําให พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางที่วัดส ุทัศน ฯนี้ในอด ีตมักมีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งจีนตามแบบที่สมเด ็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นและจากพุทธลักษณะของพระกริ่งจักรพรรด ิที่เพ ิ่งสรางขึ้นยังคงร ักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญไวไดอยางครบถวนแสดงให เห็นถึงการร ักษารูปแบบในการสรางของพระกริ่งที่วัดน ี้วาต องสรางตามรูปแบบที่สรางกันมาตั้งแตเริ่มแรกแมจะม ีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางในบางชวงเวลาเชนพระกริ่งที่เจาคุณศรี(สนธิ์) สรางขึ้นแต คงไมเปนท ี่นิยมดังน ั้นแมเวลาผานมากวา 100 ปตั้งแต มีการสร างพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกท ี่วัดส ุทัศน เทพวรารามแตในดานพุทธลักษณะของพระกริ่งก็ยังคงย ึดมั่นตามตําราที่สรางกันมาตั้งแตอดีตความเชื่อในอํานาจพุทธคุณแมวาการสรางพระเครื่องในปจจุบันมักมีการกล าวอางไวอยางชัดเจนแตการสรางพระกริ่งจักรพรรด ินี้ไมมีการระบ ุไวในประว ัติการสร างวาม ีอํานาจพุทธค ุณดานใดแตจากร ูปแบบการสรางและพิธีกรรมในการสรางที่ยึดตามว ิธีการท ี่เคยใชกั นมาตั้งแต ในอด ีตรวมถึงพ ุทธลักษณะก็มีความเหม ือนกับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่เคยสรางข ึ้นที่วัดน ี้จึงน าจะเปนไปไดวาม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเชนกันวิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามท ี่ไดกลาวมาแลววาการสร างพระเครื่องในสมัยหลังมักมี การกลาวอางในเร ื่องของการใชวัตถ ุมงคลตางๆการใช พระเกจิอาจารยที่มีชื่อเสียงมาทําพ ิธีกรรมในการปลุกเสกและทําพ ิธีหล อองคพระเพื่อใหพระเคร ื่องเหลาน ั้นมีอํานาจพ ุทธคุณที่กลาแข็งซึ่งอํานาจพ ุทธคุณที่เป นที่นิ ยมในวงการพระเครื่องมักเปนเรื่องเกี่ยวก ับเมตตามหานิยมแคลวคลาดป องกันอันตรายและเน ื่องจากการสร างพระกริ่งจักรพรรดิไมไดมีขอม ูลที่ระบุไวอย

ชัดเจนถ ึงอํานาจพ ุทธคุณแตเน ื่องดวยมีการกลาววามีการใชวัตถ ุมงคลตางๆในการหลอองคพระเชนเด ียวกับที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เคยใชอีกท ั้งพิธีกรรมต างๆก็เหมือนก ับที่เคยทําในอดีตดังน ั้นแมในวงการพระเครื่องยังไมไดมีการกลาวขานถึงอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้แตจากการสรางที่มีรูปแบบและพิธี กรรมตามแบบที่เคยทําในอดีตรวมถึงพ ุทธลักษณะก็เหมือนกับพระกริ่งในอดีตที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เคยสรางก็นาจะเป นไปไดวาพระกร ิ่งรุนน ี้คงไดรับศร ัทธาในอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเชนก ันจากตัวอยางของพระกริ่งรุนต างๆที่สรางขึ้นที่วัดส ุทัศน เทพวรารามนี้พบวามีการสรางพระกริ่งขึ้นอย างตอเนื่องมาเปนเวลานานโดยเริ่มต ั้งแตพ.ศ. 2441 โดยสมเด็จพระสังฆราช(แพ) หลังจากนั้นพระองคทานก ็ไดสรางพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องเปนประจ ําทุกปในว ันเพ็ญเดือน 12 จนถึงพ.ศ. 2486 เรียกวาพระกริ่งรุนเชียงตุงน ับเปนรุนสุดทายท ี่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้น111ซึ่งพ ุทธลักษณะที่ทานใช สรางพระกริ่งนั้นก็มีความแตกต างกันมากแตไม มากนักเชนองค พระประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบจีวรมีตุมคล ายไขปลาหรือลูกประคําทั้งทางดานหนาและดานหลังพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเปนเสนตรงปลายเฉียงขึ้นเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะอย ูขางในหลังจากนั้นการสรางพระกริ่งที่วัดสุทัศนก็ ไดสรางโดยเจาคุณศรี(สนธิ์) จนท านมรณะภาพเมื่อพ.ศ. 2495112แตการสร างพระกริ่งของเจาคุณศรีนั้ นไดมีการเปล ี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางเชนพระกร ิ่งประภามณฑลพระกร ิ่งนาคปรกแตคงไมเป นที่นิยมซึ่งเห ็นไดจากหลังจากท ี่ทานมรณะภาพก็ยังม ีการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้แม จะไมสรางขึ้นเปนประจําทุกปเหมือนก ับครั้งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางแต คงสรางในโอกาสสําคัญโดยผูที่รับผิดชอบในการสรางมักเปนเจาอาวาสผ ูครองวัดสุทัศน เทพวรารามนั้นเอง113โดยย ึดถือการสรางตามตําราที่มีมาแตเดิมของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทั้งด านพิธีกรรมวัตถุที่นํามาจัดสรางพุ ทธลักษณะของพระกริ่งจากการสร างพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องมาเปนเวลานานกวา 100 ปที่วัดน ี้ทําให พระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดส ุทัศน ได รับการน ับถือก ันมากที่สุดในวงการพระเครื่องในปจจุบัน

3. พระกริ่งกลุมวังจ ันทนจังหว ัดพิษณุโลกจากการพบว ังจันทนวังที่พระนเรศวรเคยประทับในบร ิเวณโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและมีการสรางพระราชานุสาวรียสมเด ็จพระนเรศวรโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหั วรัชกาลปจจ ุบันไดเสด ็จเปดพระราชาน ุสาวรียในพ.ศ. 2505 สมาคมนักเรียนเก าโรงเรียนพิษณุโลกพิ ทยาคมจึงคิดสรางพระกริ่งนเรศวรขึ้น114โดยพระกริ่งที่สําค ัญที่สรางขึ้นของกลุมนี้เชน3.1 พระกริ่งนเรศวร (รูปที่ 34 ) ที่เรียกว าพระกริ่งนเรศวรนั้นเนื่องจากพระกร ิ่งรุนน ี้ไดทําการสร างขึ้นที่วังจ ันทนจ.พิษณ ุโลกซึ่งม ีพระบรมราชานุสาวรียสมเด ็จพระนเรศวรอยูในบริเวณว ังจันทนอีกทั้งเป นการจัดสรางขึ้นเปนรุนแรกประวัติการสรางถือเป นการสรางพระกริ่งในตระกูลพระกริ่งนเรศวรขึ้นเปนครั้งแรกโดยมีพล.ต.ต. ยรรยงสท านไตรภพเป นประธานในการสรางเม ื่อวันที่ 19 พฤศจ ิกายนพ.ศ. 2507 โดยสรางข ึ้นทั้งสิ้น 500 องค วิเคราะหประวัติการสรางจะเห ็นวาการสรางพระกริ่งในตระกูลพระกริ่งนเรศวรนั้นเริ่มสรางเปนคร ั้งแรกเมื่อชวงตนของพุทธศ ักราชที่ 2500 นี้เองหลังจากการสรางพระกริ่งในกลุมวัดบวรนิเวศนและว ัดสุทัศน เทพวรารามประมาณ 50 ปซึ่งช วงเวลาดังกลาวเราจะเห ็นวาพระกร ิ่งไดเปนที่นิยมในการนับถือในเมืองไทยอยางม ั่นคงแลวโดยเฉพาะพระกริ่งในกลุมวัดสุทัศน ฯดังน ั้นการสรางพระกริ่งขึ้นในกลุมใหม จึงต องสรางความนาเชื่อถือโดยการก ําหนดใหชื่อพระกร ิ่งนเรศวรโดยอาจหวังนําความเกี่ยวของในเร ื่องตํานานการสรางพระกริ่งที่กลาวอางก ันอย ูเสมอวาพระว ันรัตทรงสรางพระกริ่งขึ้นประดับที่พระมาลาของสมเด็จพระนเรศวรและนําพระนามของสมเด็จพระ-นเรศวรมาชวยใหเกิดศรัทธาในการบูชาพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมนี้ส วนเรื่องจ ํานวนและว ันที่ทําการสรางพระกริ่งนเรศวรนั้นเนื่องจากเพิ่งทําการสรางไดไม นานนักจึงยังมีขอม ูลดานเอกสารยืนยันอยูอยางชัดเจนพุทธลักษณะสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวหงายรอบฐานพระทั้งดานหนาและดานหลังฐานมีเกสรบ ัวทําเปนตุมอยูโดยรอบชวงบนของฐานบัวทั้งดานหน าและดานหลังเชนกันพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือหมอน ้ํามนตครองจีวรห มเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจีวรไมมีตุมคล ายไขปลาชายส ังฆาฏิดานหน าสั้นเหนือพระอุระดานซายสวนด านหล ังยาวจรดพระโสณีพระพั กตรคอนข างกลมพระเนตรเรียวปลายเฉียงขึ้นแตไมเล็กเปนเส นตรงตามแบบจีนเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางใน

50วิเคราะห พุทธล ักษณะจากการน ั่งขัดสมาธ ิเพชรบนฐานบัวหงายม ีเกสรบัวทําเปนตุมอยูโดยรอบชวงบนของฐานบัวชายสังฆาฏิดานหน าสั้ นเหนือพระอ ุระดานซายสวนด านหลังยาวจรดพระโสณีพระพั กตรคอนข างกลมรั ศมีเปนดอกบัวตูมจากลักษณะด ังกลาวท ั้งหมดจะเห็นวาไมเหมือนก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่เคยสรางขึ้นทั้งที่วัดบวรน ิเวศนและที่วัดส ุทัศนแตแสดงใหเห็นถึงอิทธ ิพลของศิลปะลานนาเช นลักษณะของฐานบัวหรือการทําชายสังฆาฏิดานหน าสั้นเหนือพระอุระดานซาย3.2 พระกริ่งนเรศวรวังจันทน (รูปที่ 35) เปนพระกร ิ่งที่สรางขึ้นที่วังจ ันทนจังหว ัด-พิษณ ุโลกเชนเดียวกับพระกริ่งนเรศวรแตที่ดานหล ังฐานพระมีอักษร “นเรศวรวังจันทน” (รูปท ี่ 37) พระกริ่งรุนน ี้จึ งถูกเรียกว า”พระกริ่งนเรศวรวังจันทน” ประวัติการสรางเป นพระท ี่นําพระกริ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) เปนตนแบบในการสรางโดยมีพระอาจารยผ องวัดจ ักรวรรด ิราชาวาสเป นประธานในการสรางเม ื่อวันที่ 19 มกราคมพ.ศ. 2515 โดยสรางขึ้นประมาณ 5,000 องควิเคราะหประวัติการสรางประว ัติการสร างพระกร ิ่งรุนน ี้กลาววาไดนําพระกร ิ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) เปนตนแบบซึ่งจากประว ัติ การสรางพระกริ่งเทพโมลีพบวาสรางขึ้นในปพ.ศ. 2441 และสรางขึ้นเพียง 9 องค เทานั้นซึ่ งนับเปนพระกร ิ่งที่หาไดยากและเม ื่อพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทนสรางขึ้นในพ.ศ. 2515 ซึ่งระยะเวลาการสรางหางกันถึง 74 ปยิ่งเป นไปไดยากที่ผูสร างจะหาพระกริ่งเทพโมลีองคจริงมาเปนตนแบบดั งนั้นนาจะเปนไปไดวาเป นการทอดแบบจากภาพมากกวาถอดพิมพจากองค จริงนอกจากน ั้นพุทธลักษณะในหลายสวนของพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทน ยังม ีความแตกตางจากพระกริ่งเทพโมลีซึ่งจะกล าวถึงในสวนของการวิเคราะหพุทธล ักษณะตอไปสวนขอม ูลดานวันที่สรางและจํานวนในการสรางนั้นมีเอกสารระบ ุไวอยางชัดเจนจึงนาจะเปนขอม ูลที่ถูกต องพุทธลักษณะสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางด านหนาเพียง 7 คูแต กลีบบัวคอนขางเปนเหล ี่ยมดานหล ังมีอักษรจารึกไว วา “นเรศวรวังจันทน” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเป ดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งดานหนาและด านหลังและท ี่ขอบจีวรที่พาดผ านขอพระกรซ ายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเล็กเรี ยวเปนเสนตรงตามพระเนตรของพระพุทธร ูปจีนเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขาง

วิเคราะห พุทธล ักษณะจากพ ุทธลักษณะโดยรวมของการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้พบวามีความแตกตางกับที่เคยสรางในร ุนอื่นเชนล ักษณะของพระเนตรที่ทําเป นเสนเรียวเล ็กแทนการทําพระเนตรโปนเหลือบลงต่ําการท ําลวดลายตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรและไม ทําสังฆาฏ ิพาดเหนือพระอังสาซายจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการสรางดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความเปนไปไดที่ประวัติการสร างกลาววาการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้ไดนําพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบในการสรางแตตามท ี่กลาวไปแลวในสวนของว ิเคราะหประวัติ การสรางวาคงไมไดถอดแบบออกจากพิมพโดยตรงเนื่องจากม ีสวนที่ แสดงความแตกตางเชนล ักษณะของฐานบัวที่กลีบบัวมีขนาดที่เล็กและเปนเหลี่ยมมากกวาการทําพระขนงโค งเปนสันอย างชัดเจนดังนั้นจากพุทธลักษณะดังกลาวทั้งหมดคงกล าวไดวาพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทนนี้ได นําพุทธล ักษณะพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบในการสรางแตคงไมได ถอดแบบมาโดยตรงเปนเพียงการนําพุทธลักษณะที่สําค ัญมาแสดงไวเทานั้นขณะเด ียวกันพระกริ่งนเรศวรวังจันทนก็ยังแสดงรูปแบบท ี่เปนของตัวเองไวด วยโดยลักษณะที่สําค ัญที่สุดคือการจาร ึกคําว า “นเรศวรวังจันทน” ที่ดานหล ังฐานพระ3.2 พระกริ่งนเรศวรพระองคดํา (รูปที่ 36) เปนพระกริ่งอีกรุนท ี่สรางขึ้นที่วังจ ันทนเชนก ันแตที่ดานหล ังฐานพระมีอักษร “นเรศวร(พระองคดํา)” (รูปท ี่ 39) พระกริ่งรุนนี้จึงถูกเรี ยกวา”พระกริ่งนเรศวรองคดํา”ซึ่งเป นอีกพระนามหนึ่งของสมเด็จพระนเรศวรที่เรียกกันวา”พระองค ดํา”และเปนขอม ูลที่ชัดเจนท ี่ทําให เราสามารถทราบไดวาพระกริ่งองค ใดเปนพระกริ่งรุนนเรศวรองคดําประวัติการสรางกล าววาพระกริ่งนเรศวรองคดําน ี้เปนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นเพื่อฉลองอายุครบ 100 ปของโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมและพระกริ่งนเรศวรองคดําท ําพิธีเฉลิมพระนามเมื่อ3 พฤศจ ิกายนพ.ศ. 2542 วิเคราะหประวัติการสรางตามประวัติการสรางโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมไดกลาววามีการสร างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2442115นอกจากนั้นยังมีบันท ึกที่สมเด ็จกรมพระยานริศรานุวัติ วงศทรงสํารวจว ังจันทนในพ.ศ. 2444 และกลาววา “ตัวอาคารบางหลังของโรงเรียนพิษณ ุโลกพ ิทยาคมไดสรางขึ้นทับพระราชวังจันทน”116ดังน ั้นข อมูลการสรางที่กล าววาพระกริ่งนเรศวรรุนนี้ไดสรางเพื่อฉลองวาระครบ 100 ปของการจัดตั้งโรงเร ียนพิ ษณุโลกพิทยาคมก็นาจะเป นขอม

พุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหนาเพียง 7 คูดานหล ังฐานบัวมีอักษรจาร ึกไววา “นเรศวร(พระองคดํา)” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคลายไข ปลาทั้งดานหนาและดานหลังและที่ขอบจีวรที่พาดผานข อพระกรซายพระพักตรคอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะจากพุทธลักษณะโดยรวมของการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้จะพบวาคลายพุ ทธลักษณะของพระกริ่งที่มีการสร างอยูทั่วไปในประเทศไทยคือองคพระพุทธร ูปประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหน าเพียง 7 คูกล ีบบัวคอนข างกลมมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งดานหน าและด านหล ังและขอบจีวรที่พาดผานข อพระกรซายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเล็กเรี ยวเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางในแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะตั้งแต เริ่มสรางที่มีเอกลักษณ เปนของตัวเองโดยแสดงพุทธศิลปแบบลานนามาผสม (เชนการท ําชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอ ุระดานซาย) มาเป นพุทธลักษณะที่นิ ยมทั่วไปในการสรางพระกริ่งคือคลายพระกร ิ่งจีนอาจเปนผลมาจากการสรางรูปแบบของพระกริ่งที่ตางไปในชวงแรกไม ไดรับความน ิยมหรือศรัทธาในการบูชาจึงม ีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางเพื่อใหพระกริ่งที่สรางขึ้นในกลุมนี้ไดรับความยอมรับในอํานาจพุทธคุณเชนเด ียวกับพระกร ิ่งที่สรางในกลุมอื่นๆจากประวัติการสรางพระกริ่งวังจันทนหรือพระกริ่งนเรศวรพบวาเปนการริเริ่มสรางโดยสมาคมนักเรียนเก าโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมโดยสร างขึ้นครั้งแรกเม ื่อพ.ศ. 2507 โดยการเรียกชื่อพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วา”พระกร ิ่งนเรศวร” เนื่องจากภายในพื้นที่ของโรงเรียนมีพระราชวังจันทน ที่เคยเป นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชโดยพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นตั้งแต เริ่มตนในปพ.ศ. 2507 จะมีลักษณะท ั่วไปคลายพ ุทธศิลปะแบบไทยลานนาเชนการท ําองคพระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวขนาดใหญสลับเล็กและม ีเกสรบัวหรือการทําชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอุระดานซายปลายเปนเขี้ยวตะขาบซึ่งหลังจากมีการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนแรกแลวก ็มีการสร างพระกริ่งนเรศวรขึ้นอีกหลายรุนโดยมีพุทธลักษณะที่ต างกันไปแตยังแสดงพุทธศ ิลปะแบบไทยเชนในพ.ศ. 2513 มีการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนยุทธหัตถี (รูปท ี่ 37) ขึ้นซึ่งพ ุทธลักษณะโดยรวมคลายศิลปะแบบอูทองเชนพระพ ักตรที่เป นสี่เหลี่ยมชายส ังฆาฏิยาวจรดพระนาภีปลายตัดตรงนอกจากนั้นบนฝาพระห ัตถซายไม ถือว ัชระหรือหม อน้ํามนตที่เปนสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งไว

จากรูปแบบการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนตางๆที่วังจ ันทนนี้พบวาไมไดยึดติ ดกับรูปแบบในการสรางพระกริ่งตามตําราเดิมดังน ั้นอาจมีผลทําใหพระกริ่งที่สรางขึ้นไมไดรับศร ัทธาในการบูชาหร ือความเชื่อถือในอํานาจพุทธคุณเทาที่ควรจึงเก ิดการปรับเปล ี่ยนพุ ทธลักษณะในการสรางโดยใชพระกริ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) มาเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนวังจันทนซึ่งอาจหว ังผลเพื่อใหเกิดศรัทธาในการบูชาเชนเดียวกับพระกริ่งเทพโมลีหลังจากพระกริ่งนเรศวรรุนวังจันทนไดรับการปรับเปลี่ยนพุทธลักษณะในการสรางแลวพระกริ่งกล ุมนี้ที่สร างขึ้นหลังจากนั้นก็ไดเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะในการสรางใหเปนแบบลักษณะน ิยมในการสรางพระกริ่งทั่วไปคือการท ําเปนประติมากรรมลอยตัวประทั บขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหนาเพียง 7 คูกล ีบบัวคอนขางกลมมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาท ั้งดานหนาและดานหลังและที่ขอบจ ีวรที่พาดผ านขอพระกรซายพระพักตร คอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวต ูมภายในองค พระมีลูกกริ่งอยูขางในเชนพระกร ิ่งนเรศวรรุนเผด็จศึกสรางขึ้นในพ.ศ. 2522 พระกริ่งนเรศวรรุนผานศึกสรางขึ้นในพ.ศ. 2538 การเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะในการสรางของพระกริ่งกลุมน ี้นาจะมาจากเหตุผลของความตองการใหพระกริ่งที่สรางขึ้นมีความน าเชื่อถือเกิดศรัทธาและความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณวาเหมือนก ับอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่สรางกันในอดีต(โดยเฉพาะกลุมวัดสุทัศน ) ซึ่งเห ็นไดจากจุดเริ่มต นของการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะของพระกริ่งในกลุมนี้ที่กล าววาไดนําพ ุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบนั้นเองแตขณะเดียวกันพระกริ่งกลุมว ังจันทนนี้ก็ยังคงร ักษาเอกลักษณที่สําค ัญไวคือการม ีตัวอ ักษรอยูดานหล ังวาเป นพระกร ิ่งนเรศวรรุนไหนจากตัวอยางการสร างพระกริ่งในประเทศไทยที่กลาวไวขางตนทั้ง 3 กลุมทําให เราทราบวาหลังจากความเชื่อในการบูชาพระกริ่งไดเขาสูประเทศไทยโดยพระสงฆชาวเขมรแลวในชวงต นกรุงร ัตนโกสินทรราวรัชกาลที่ 3 – 4 สังคมไทยก็เกิดการยอมรับในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจนในที่สุดพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ก็ได ทรงคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางท ี่เรียกวาพระกร ิ่งปวเรศโดยกล าววาทานไดนํารูปแบบพระกริ่งปทุมของประเทศกัมพูชามาเปนตนแบบจากน ั้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นอย างตอเนื่องในประเทศไทยจนถึงปจจุบันโดยส วนใหญพระกริ่งที่สรางขึ้นจะยึดถือตามรูปแบบที่สรางกันมาแตอดีตและม ีความใกลเคี ยงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งจีนคือสร างเปนประต ิมากรรมลอยตัวประทั บขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงาย 7 คูฐานดานหลังเรียบไมมีลวดลายพระพักตร คอนข างกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารัศม ีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือ

54หรือหมอน ้ํามนตครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับในองคพระจะมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งแตขณะเดียวกันอาจมีพุทธล ักษณะที่แตกตางบางในบางสวนเชนล ักษณะของพระองคเพรียวบางไดสัดสวนหร ือพระองคคอนข างอวบอวนการรักษารูปแบบในการสรางพระกริ่งไวนั้นอาจเน ื่องมาจากตองการใหพระกริ่งท ี่สรางขึ้นในชั้นหลังได รับศรัทธาเช นเดียวกับพระกริ่งที่สรางโดยคณาจารยในอดีตสวนด านความเชื่อในการบูชาพระกริ่งในประเทศไทยนั้นชวงแรกนาจะเกิดจากความเชื่อท ี่พระสงฆเขมรนําเขามานั่นเองคือในเร ื่องของอํานาจพุทธคุณดานปองกันอันตรายคณะเดินทางเห็นไดจากเมื่อครั้งที่พระอมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศกัมพูชาขากลับท านไดรับมอบพระกร ิ่งนําติดตัวกลับประเทศไทยนอกจากน ั้นความเช ื่อเกี่ยวกับพระกริ่งในชวงแรกน ั้นก็นาจะเป นเรื่องของการนําพระกริ่งมาแชในน้ําเพื่อทําน้ํามนตใหคนปวยได กิ นน้ํานั้นเพื่อรักษาโรคเชนขอมูลที่กลาววาพระวันรัต(แดง)พระอุปชฌายของสมเด็จ-พระสังฆราช (แพ) อาพาธเปนอหิวาตกโรคโดยสมเด็จพระวชิรญาณวโรรสได รับสั่งให นําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ําพุทธมนตแลวอธิฐานขอใหหายจากโรคเมื่อพระวันรัตฉันทน้ํ าพุทธมนตแลวอาการก็ทุเลาลงจนหายเปนปกติจากขอมูลที่กลาวถึงทั้งสองสวนนั้นแสดงใหเห็นวาความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่เขาสูในประเทศไทยไดรับการยอมร ับทั้งดานปองกันอันตรายขณะเดินทางและการทําน้ํามนตเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยแต เมื่อการแพทยในประเทศไทยดีขึ้นความเช ื่อดานการน ําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ํามนตรักษาอาการเจ ็บปวยคงลดลงเหล ือเพียงความเชื่อดานปองก ันอันตรายแคลวคลาดเท

55 บทที่ 5 บทสรุปจากการศึกษาคนควาเราพบวามีเพียงคัมภีรมหายานลล ิตวิสระของประเทศอินเดียที่มีขอความกล าวสรรเสริญพระพุทธเจาแพทย ผูสามารถปดเปาโรคภัยไขเจ ็บใหหายได และพระพุทธเจ าแพทยสวนใหญ หมายถึงพระไภษัชยค ุรุฯที่เป นตนกําเนิดของพระกริ่งนั่นเองแตชาวอินเด ียนั้นนับถือพระโพธิสัตว อวโลกิเตศวรในฐานะพระพุทธเจาแพทย ตั้งแต สมัยคุปตะอี กทั้งเราไมพบหลักฐานทางศิลปกรรมทั้งที่เปนอาคารหรือรูปเคารพของพระไภษัชยคุรุฯใดๆที่พอจะช ี้ชัดไดวาพระไภษ ัชยคุรุฯมีจุดก ําเนิดในประเทศอ ินเดียเม ื่อพุทธศาสนาฝายมหายานแบบตันตระไดเจริญและเผยแผเขาสูประเทศท ิเบตในพุทธศตวรรษที่ 13 โดยทานคุรุปทมสมภพซึ่งท านไดนําความเชื่อในการนับถือพระไภษ ัชยค ุรุฯเข าสูประเทศนี้อีกทั้งชาวท ิเบตมีความเชื่อในเรื่องปาฏิหาริยและคาถาตางๆจึงท ําใหความเช ื่อในการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯเป นที่ยอมรับนํามาส ูการสรางพระกริ่งขึ้นเป นครั้งแรกจากเหตุผลที่ตองการสร างรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในการทําน้ํามนตสําหรับรักษาอาการเจ็บปวยแทนการลูบที่องคพระซึ่งเปนความเชื่อเดิมสําหรับพ ุทธลักษณะของพระกริ่งนั้นทําเป นพระพ ุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิเพชรอยูบนฐานบัวที่มีฐานบ ัวเฉพาะด านหนาพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือเครื่องพุทธบริโภคเชนหมอน ้ําหร ือวัชระครองจีวรหมเฉ ียงไมสวมเคร ื่องประดับภายในองคพระบรรจุเม็ดโลหะเล็กๆที่เรียกวาเม็ดกริ่งเม ื่อเขยาองคพระจะกอใหเกิดเสียงด ังกริ๊งๆจากนั้นความเช ื่อดังกลาวได เผยแผเขาสูประเทศจ ีนประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในที่สุดซึ่งในประเทศไทยเรานั้นเปนประเทศที่นั บถือพ ุทธศาสนาอยูแลวอีกท ั้งมีความเชื่อในดานคาถาอาคมเปนพื้นฐานเดิมของสังคมเม ื่อความเชื่ อเกี่ยวกับพระกริ่งที่ถือว ามีอํานาจพ ุทธคุณดานรั กษาโรคภ ัยไขเจ ็บตางๆและชวยปองกันอันตรายขณะเดินทางเสม ือนเครื่องรางที่นับถือก ันอยูแตเด ิมในสังคมไทยจึงท ําให พระกริ่งไดรับการยอมร ับและเกิดการคิดสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยขึ้นบางเป นครั้งแรกน ั้นราวพ.ศ. 2425 โดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศ-วริยาลงกรณที่วัดบวรน ิเวศนฯซึ่งการสร างพระกริ่งขึ้นครั้งแรกนี้เชื่อว ามีการสรางขึ้นเพียง 30 องค เพื่อใชแจกจ ายแก เจานายชั้นสูงและเพ ื่อทําน้ํามนตหล ังจากที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกแล วก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบั

ผลการศึกษาดานรูปแบบของพระกริ่งจากจุดเริ่มตนการสรางของพระกริ่งในประเทศไทยที่กลาววามีการนํารูปแบบของพระกริ่งปทุมของเขมรมาเปนตนแบบทําให พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางในประเทศไทยเมื่อเริ่มสรางทําเปนประติมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางดานหนาและดานหลัง 1 คู (พระกริ่งปทุมมีฐานบัวเพียงดานหน าอยางเดี ยว) ซึ่ งอาจจะตองการใหตางจากองค ที่นํามาเป นตนแบบพระพ ักตรคอนข างกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทําเป นรัศมีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระหรือหมอน ้ํามนตครองจีวรเฉียงเป ดพระอังสาขวาแตงกายอย างนักบวชไมสวมเครื่องประดับขอบจีวรเรียบไมมีตุมไข ปลาในองคพระมีการบรรจุเม็ดโลหะที่เรียกวาลูกกร ิ่งเพื่อให เวลาเขยาองคพระจะเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่งรูปแบบพระกริ่งที่สรางขึ้นในพุทธลักษณะนี้นับว าเปนพุทธลักษณะสําค ัญที่เป นตนแบบใหการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยในชั้นหลังแตขณะเด ียวกันเมื่อมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยไดระยะหน ึ่งก็มีแนวคิดในการเพิ่มอํานาจพุทธคุณของพระกร ิ่งโดยการนําพุทธลักษณะของพระพุทธรูปในแบบอื่นมาผสมทําให รูปแบบการสร างพระกริ่งในประเทศไทยของกลาวโดยรวมไดเปน 2 กล ุมใหญๆคือ1. กลุมท ี่รักษารูปแบบในการสรางการสรางพระกริ่งในกลุมนี้มีพุทธลักษณะตรงกับที่กําหนดไวในตําราการสรางพระกริ่งตามรูปแบบที่เคยปรากฏในอดีตการสรางพระกริ่งในกลุมนี้พบไดมากกวาอีกกล ุมอี กทั้งม ีการสรางกันอย างตอเนื่องสม ่ําเสมออาจเนื่องจากวัดตางๆท ี่สรางพระกริ่งขึ้นมานั้นตองการใหพระกร ิ่งที่สรางขึ้นเปนที่ยอมรับและเช ื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเสมือนพระกริ่งที่เคยสรางจึงรักษาร ูปแบบในการสรางไวคือเปนประติมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาฐานด านหล ังเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารัศม ีคลายดอกบ ัวตูมพระเนตรม ักทําโปนมองลงต่ําหรือไม ก็ทําลักษณะเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นคลายพระเนตรของพระพุทธรูปแบบจีนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระหรือหม อน้ํามนตครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวามีตุมไข ปลายตามขอบชายจีวรคลายพระพุทธรูปแบบจีนแตงกายอย างนักบวชไมสวมเครื่องประดับในองค พระมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งขณะเดียวกันพระกริ่งในกลุมนี้อาจมีพุทธลักษณะที่แตกตางบางเล็กนอยในบางสวนเชนลักษณะของพระองคเพรียวบางไดสัดส วนหรือคอนขางอวบอวนลักษณะพระพ ักตรที่อาจกลมหรือเปนรูปไขพระเนตรมักทําโปนมองลงต่ําหรือไม ก็ทําล ักษณะเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นตัวอยางพระกริ่งของกลุมนี้ที่สําค ัญเชนพระกริ่งกล ุมวัดสุทั

2. กลุมท ี่ไมรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งการสรางพระกริ่งของกลุมนี้จะมีรูปแบบที่หลากหลายและไม ไดยึดตามร ูปแบบการสรางพระกริ่งที่ยึดถ ือกันมาตั้งแตในอด ีตแตรักษาเพ ียงส ัญลักษณที่สําค ัญคือการบรรจุเม็ดกริ่งไว ในองคพระเพื่อเขยาแลวเก ิดเสี ยงดังกร ิ๊งกร ิ๊งโดยจ ุดเริ่มที่มีการสร างพระกริ่งที่ไมยึดร ูปแบบนาจะเริ่มขึ้นที่วัดบวรน ิเวศนฯจากการสรางพระกริ่งปวเรศที่มีการเพิ่มกลีบบัวคว่ําบัวหงายท ี่ดานหล ังของฐานพระอีก 1 คูหลังจากนั้นการสรางพระกริ่งที่วั ดบวรน ิเวศนฯนี้มีการปรับรูปแบบให มีเอกลั กษณเปนแบบไทยมากขึ้นเชนการสรางพระกริ่งบัวรอบในพ.ศ. 2487 ที่มีพระพักตรแบบไทยและมีกลีบบัวคว ่ําบัวหงายรอบฐานพระการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางพระกริ่งที่สําค ัญนาจะเปนการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่สรางขึ้นในพ.ศ. 2496 โดยที่พระหัตถมีการเปล ี่ยนแปลงจากเดิมที่ทําปางมารวิชัยเป นปางพระทานอภัยที่พระหัตถขวามีชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอังสาซ ายและหลังจากเมื่อมีการสรางพระกริ่งไพรีพิ นาศขึ้นที่วั ดบวรน ิเวศนฯแลวการสร างพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้ก็มั กยึดรูปแบบพระกร ิ่งไพรีพินาศเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งในรุนหลังของว ัดนี้นอกจากวัดบวรนิเวศนฯแลวยังมีการสรางพระกริ่งที่ไมยึดร ูปแบบที่เปนลักษณะหลักที่เคยย ึดกันมาในอดีตอีกหลายว ัดแตไม ไดมีการสร างอยางตอเนื่องเชนพระกริ่งว ัดพนัญเชิงวรวิหารจังหว ัดพระนครศรีอยุธยาที่นําพ ุทธลักษณะของหลวงพอโตวัดพน ัญเชิงมาสรางเปนพระกร ิ่งโดยรักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญชองพระกริ่งเพียงการใหมีเม ็ดกริ่งอย ูในองคพระหรือการสรางพระกริ่งหลวงพอโสธรที่วัดโสธรวรารามจังหว ัดฉะเช ิงเทราที่นําพ ุทธลักษณะของพระพุทธโสธรมาสรางเปนพระกร ิ่งคือท ําเปนองคพระประท ับขัดสมาธิราบบนฐานเขียง 3 ชั้นพระพักตรสี่เหลี่ยมครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาชายสังฆาฏิพาดบนพระอังสาซายปลายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภีพระหัตถแสดงปางสมาธิไมมีหมอน ้ํามนตบนฝาพระห ัตถในองค พระบรรจุลูกกร ิ่งไวการสรางพระกริ่งในกลุมนี้คงไมเปนที่ไดรับความเชื่อถือมากนักจากการที่ไม มีการสรางขึ้นอยางตอเนื่องในแตละวัดแต แนวคิ ดในการสร างพระกริ่งที่ไมยึดติ ดกับพุทธลักษณะเดิมนาจะเก ิดจากการที่ผูสร างตองการใหพระกริ่งท ี่สรางขึ้นใหมมีอํานาจพ ุทธคุณที่เป นอํานาจพ ุทธคุณเดิมของพระกริ่งรวมกับอํานาจพุทธคุณของพระท ี่มาเปนตนแบบนั้นๆเชนพระกร ิ่งไพรีพินาศที่มีพุทธล ักษณะผสมผสานระหวางลักษณะของพระกริ่งกับพระไพร ีพินาศเก ิดความเชื่อถือวามีอํานาจพุทธค ุณดานปองกันภัยอันตรายตางๆและปองกันไมใหศัตรูมาท ําลายจากขอมูลในขางตนทําใหเราพอสรุปไดวาในสวนของร ูปแบบหรือพุทธลักษณะของพระกริ่งมีผลตอความเชื่อม ั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งเห ็นไดจากพระกร ิ่งที่สรางขึ้นตามวัดตางๆม ักจะรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งไวอยางเครงครัดกอให เกิดศรัทธาและเช ื่อมั่นในอํานาจพุทธค ุณของพระกริ่งเหลาน ั้นสวนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นโดยไมรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งมักไมไดรับความน ิยมหรือประชาชนทั่วไปไม คอยศรัทธาในอํานาจพุท

ผลการศึกษาดานความเชื่อหรืออํานาจพ ุทธคุณจากจุดเริ่มตนของการสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตโดยสรางข ึ้นเพื่อเปนรูปจําลองพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในการทําพิธีกรรมเพ ื่อรักษาผูที่มีอาการเจ็บปวยดังน ั้นความเช ื่อในการบูชาพระกริ่งเมื่อเริ่ มสรางจึงเปนความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณเดียวกับพระไภษัชยค ุรุฯน ั่นเองคือชวยในการรักษาโรคภัยตางๆเม ื่อความเชื่อน ี้เขาสูประเทศก ัมพูชานั้นเชื่อกันวามีการรวมจตุรอาถรรพณคือธรรมภาวะป ูชายศภาวะปูชามารภาวะปูชาและเมตตาภาวะปูชาซึ่งเป นความเชื่อที่พระองคสามารถขจัดภัยอันตรายตางๆชวยให หายจากโรคภัยไขเจ็บและใหเกิดความสุขความเจริญแตอาจเนื่องจากในประเทศกัมพูชานิยมนับถือศาสนาพราหมณมากกวาศาสนาพุทธจึงเป นเหตุใหพระกริ่งและความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งปรากฏในชวงระยะเวลาอันสั้นสําหรับประเทศไทยเม ื่อความเชื่อในการบูชาพระกริ่งเขาสูประเทศไทยในชวงแรกเชื่อกันว าไดรับความเช ื่อจากพระสงฆชาวกัมพูชาที่มาศ ึกษาพุทธศาสนาในประเทศไทยซึ่งพระสงฆ เหลานั้นไดนําพระกร ิ่งติดตั วมาดวยเพื่อใหอํานาจพ ุทธคุณปองก ันภยันตรายขณะเดินทางขณะเดียวกันก็มีความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณที่ชวยร ักษาอาการเจ็บปวยจากการที่มีการนําพระกริ่งมาทําน ้ํามนตใหคนปวยไดกิ นน้ํามนตนั้นเพ ื่อรักษาโรคแตหล ังจากที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นอยางสม่ําเสมอที่วัดส ุทัศน ฯเราพบว าความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณของพระกริ่งในการใชแชเพื่อทําน้ํามนตเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยก็คอยๆหายไปซึ่งอาจเน ื่องมาจากในชวงเวลาดังกลาวระบบการแพทยของไทยมีการพัฒนามากขึ้นคนท ั่วไปจ ึงไมไดใชน้ํามนต เพื่อรักษาอาการเจ็บปวยอีกดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่เราพบในปจจุบันจะม ีความเชื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณที่วาสามารถปองก ันและขจ ัดภัยอันตรายตางๆแคลวคลาดจากอุบัติภั ยทั้งปวงจากการที่การสรางพระกริ่งในประเทศไทยมีการกําหนดรูปแบบหรือพุทธลักษณะออกเปน 2 กลุมใหญๆน ั้นทําให ความเชื่อในการนับถื อพระกริ่งก ็ถูกแบ งออกเปน 2 กลุมดวยเช นกันคือกลุมท ี่ยึดติ ดกับรูปแบบตามที่เคยสรางมักจะได รับศร ัทธาและความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งชัดเจนที่สุดซึ่งสวนใหญ เปนความเชื่อในอํานาจพุทธคุณดานปองกันอันตรายแคล วคลาดและชวยรักษาโรคภัยตางๆในขณะที่อีกกล ุมหนึ่งที่มีการน ําพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระพุทธร ูปอื่นๆมาผสมกับพุทธลักษณะของพระกริ่งทําให เกิดความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณที่เปลี่ยนแปลงไปตามพุทธลักษณะและอํานาจพุทธคุณของพระพ ุทธรูปอื่นที่มาสรางเปนพระกริ่งเชนการมีอํานาจพ ุทธคุณดานการปองกันและขจัดศัตรูด านเมตตามหานิยมแตส วนใหญมักถ ือวาพระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นไมวาจะร ักษาพุทธลักษณะเดิมไวหรือไมก็ตามในป จจุบันน ี้ก็ถือว าพระกริ่งทุกองค มีอํานาจพ ุทธคุณหลักดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเปน

โดยสรุปแลวเราคงกลาวไดวาการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยนั้นคงสรางขึ้นครั้งแรกโดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณที่วั ดบวรนิเวศนฯในราวพ.ศ. 2425 ซึ่งทานได รับความเช ื่อมาจากพระสงฆชาวกัมพูชาและเม ื่อมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยแลวก็เก ิดศรัทธาและม ีการสรางตอเนื่องกันจนถึงปจจุบันโดยม ีการแบ งรูปแบบของพระกริ่งไดเปนสองกลุมใหญคือกล ุมที่รักษาร ูปแบบเดิมกับกล ุมที่มีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะซึ่งจากร ูปแบบของพระกริ่งที่มีความแตกต างกันในสองกลุมนี้ทําให ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณมีความแตกตางกันดวยแตไม มากนักซึ่งความเช ื่อในอํานาจพ ุทธของพระกร ิ่งที่สรางในประเทศไทยนี้มักเชื่อกันวามีอํานาจพุทธค ุณดานปองกันอันตรายขจัดภัยพิบัติต างๆดานต ําราที่ใช ในการสรางพระกริ่งในประเทศไทยนั้นมักกลาวกันวาไดรับสืบทอดกันมาตั้งสมัยอยุธยาจากพระพนรัตซึ่งรับมาจากพระสงฆเขมรอีกตอหนึ่งแตช วงเวลาที่พระพนรั ตมีพระชนมอยูนั้ นเปนชวงกลางสม ัยกรุงศรีอยุธยาราวพ.ศ. 2130 (สมัยพระนเรศวรมหาราช) ซึ่งในชวงเวลาด ังกล าวในประเทศกัมพูชาศาสนาพุทธไมไดรับการยอมร ับแลวอีกทั้งเราย ังไมสามารถพิสูจน ถึงการม ีอยูจริงของตําราดังกลาวได ดังน ั้นในดานตําราการสรางคงไดแตเป นเรื่องท ี่พูดต อกันมาวาไดรับถายทอดก ันมาจากตําราการสรางพระกริ่งของประเทศกัมพูชาแตยังไม สามารถยืนยันได อยางชัดเจนแมวาต นกําเนิดของพระกริ่งจะความเช ื่อที่เกิดขึ้นในพ ุทธศาสนาฝายมหายานแตเม ื่อความเชื่อในการนับถือพระกริ่งไดเผยแผเขาสูประเทศไทยแลวความเชื่อดังกลาวก ็เปนที่ยอมรับและทําเก ิดเกิดการสร างพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องในประเทศไทยเปนเวลากวา 100 ปจนในปจจุบันน ี้พระกริ่งถือว าเปนพระเครื่องที่ไดรับศร ัทธาจากคนไทยอยางมากมายจนถือเป นพระเคร ื่องที่สําค ัญของไทยประเภทหนึ่งเลยทีเดียว

บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยกรมศิลปากร. จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันภาค 19. นครปฐม : โรงพ ิมพสนามจันทร, 2484. ฉัตรส ุมาลยกบิลส ิงห, ผูแปล. ไภส ัชยาคุรุ ไวฑูรยประภาตถาคตสูตร .กรุงเทพฯ : แสวงสุทธิการ- พิมพ , 2529. ชัยมงคลอ ุดมทรัพย. อภินิ หารพระเครื่องและเวทมนตคาถาศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ รุง-วิทยา, 2512. ณัฐว ุฒ ิสุทธ ิสงคราม. พระประว ัติและผลงานส ําคัญของสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยา- ปวเรศวชิยาล งกรณ : ผูประทานกํ าเนิดพระกริ่งไทย. กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสน การ-พิมพ, 2524. ดวงธรรมโชนประทีป. พระกร ิ่ง “ฉบับสมบ ูรณ”.กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, 2508. ดํารงราชาน ุภา พ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยา. ตํานานพระพ ุทธเจดีย. พิมพ ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2518. __________.นิราศนครว ัด.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ คลังป ญญา, 2537. ตอมรพันธ, พระเจ าบรมวงศเธอกรมพระสนม.ตั้งพระราชาคณะผูใหญในกร ุงรัตนโกส ินทร.กร ุงเทพฯ : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2466.ผาสุขอินทราว ุธ. พุทธปฏิมาฝ ายมหายาน.กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรสม ัย, 2543 . พ. สุวรรณ [นามแฝง].ประวัติความเป นมาพระไพรีพินาศ.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ แสงดาว- สรอยทอง, 2540. พระพุทธเลิศหลานภาลัย, พระบาทสมเด็จ.เสภาเร ื่องขุนชางขุนแผน.กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2513. พินัยศักดิ์เสน ีย.นามานุกรมพระเครื่อง.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ ผดุงศึกษา, 2502. ภุชชงค จันทว ิช. “พระมาลาเบี่ยงเลี่ยงสมัย” วารสารศิลปว ัฒนธรรม. 6, 9( ก.ค. 2528): 43. มอนตจันทนากร. ทําเน ียบพระกริ่งพระชัยวัฒน.กรุงเทพฯ : นครชางการพิมพ, 2527

มาดแลนจิโต. ประว ัติเม ืองพระนครของขอม. แปลโดยหม อมเจาสุภั ทรดิศดิศก ุล. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มติชน, 2543. มูลน ิธ ิวัดบวรนิเวศวิหาร. พระกร ิ่งพระชัยวัฒนปวเรศวัดบวรน ิเวศวิหาร. กร ุงเทพฯ : โรงพ ิมพมหามกุฎราชว ิทยาลัย, 2539. ___________. วัดบวรนิเวศวิหาร.พิมพ ครั้งที่ 2 .กร ุงเทพฯ : ศิวพรการพ ิมพ,2517. มูลน ิธ ิสิรินธรราชวิทยาลัย. พระเครื่องวัดบวร. กร ุงเทพฯ : บริษัทเมเนเจอรมีเด ียกรุปจําก ัด(มหาชน) 2541. ไมตรีบันเท ิงสุข.พระกริ่งปวเรศ.กร ุงเทพฯ : ทว ิพัฒน การพิมพ, 2546. ยอรชเซเดส. ตํานานอักษรไทยตํานานพระพ ิมพขุดค นที่พงตึกฯลฯและศิลปสุโขท ัย. พิมพ ครั้งท ี่ 2 .กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพร าว, 2526. ศรีศักรวัลลิโภดม. พระเคร ื่องในเมืองสยาม. พิมพ ครั้งที่ 2 .กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ มติชน, 2537. สมคิดศรีสิงห . ตํานานพระกริ่งนเรศวร.ม.ป.ท.,ม.ป.ป. สมาคมสํานักวัดสุทัศนเทพวราราม. ตํานานพระกริ่ง-กริ่ง.กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิชจํากัด, 2517. __________. พระกริ่งคูแผนดิน.กรุงเทพฯ : บริษัทคอมม าดีไซน แอนดพริ้นทจําก ัด, 2546. สายันตไพรชาญจิตร. “อโรคยศาล,” สยามอารยะ 2 , 10 (2536) :31. สุภัทรด ิศดิศก ุล, หม อมเจา. ประวัติศาสตร ศิลปะประเทศใกลเคียง.กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ มติชน, 2538. ___________. ศิลปะขอม.กร ุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพร าว, 2539. ___________. ศิลปะในประเทศไทย. กร ุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาล ัยธรรมศาสตร, 2538. เสธียรพันธร ังษี. พุทธศาสนามหายาน.กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ ประยูรวงศ , 2512. แสงมนวิทูร, ผูแปล. คัมภ ีร ลลิตว ิสตระ: พระพุทธประวัติฝายมหายาน.ตอนที่ 1 อัธยายท ี่ 1. พระนคร : กรมศิลปากร, 2512.

ภาษาตางประเทศNandana Chutiwongs. “The Iconography of Avalokitesvara in Mainland of South East Asia”. Ph.D. Art History Leiden University, 1984.

วารสารและเอกสารอื่นชุติเทพหิรัญร ักษ (ผูบันท ึกขอมูล). สมเด็จพระสังฆราชไทย [On line]. Accessed 9 June 2002. Available from http://www.heritage. thaigov.net/religion/cardinal/index4.htm. 2. ประมุขกาญจนว ัฒน. พระกร ิ่งบาเก็ง [On line].Accessed 6 July 2001. Available from http:// www. Tumnan.com /pra_kring/pra_kring _ j.html. 1 __________. พระกริ่งหนองแส [On line]. Accessed 6 July 2001. Available from http:// www. Tumnan.com /pra_kring/pra_kring _ j.html. 1 __________.Boor_rob [On line]. Accessed 7 June 2002. Available from http://www.tumnan.com/ pra_kring/pra_kring_d.html. 1. __________. Pawa_res[On line]. Accessed 6July 2001, Available from Http://tumnan.com/pra_kring. 1. __________. Pairee [On line]. Accessed 10 June 2002. Available from http://www.tumnan.com/ pra_kring/pra_kring_e.html. 1. มาลิน ีคัมภ ีรญาณนนท, “ประว ัติศาสตร จีน,” เอกสารค ําสอนวิชาสัมมนาศ ิลปะจีนภาควิชาประวัต ิศาสตร ศิลปะ, บัณฑ ิตวิทยาลัยมหาว ิทยาลัยศ ิลปากร, 2542, 2. (อัดสําเนา) สัมภาษณ เสนอศุกรากย ูร. หัวหน าฝ ายราชูปโภค. สัมภาษณ , 25 กันยายน 2545

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *