โดย นายธนุตม์ ธรรมพิทักษ์
สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากรปี การศึกษา 2547 ISBN 974 – 464 – 243 – 2 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร
จากความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯที่เป นพระพุทธเจ าแพทย มีอํานาจพ ุทธค ุณในการร ักษาใหมนุษยหายจากโรคภัยไขเจ็บตางๆโดยว ิธีการร ักษานั้นใหอธิฐานจิตแลวนํามือไปล ูบที่องคพระบริเวณที่เจ็บปวยแตวิธีการร ักษาตามความเชื่อนี้เมื่อเวลาผานไปกอใหเกิดความเสียหายแกรูปประต ิมากรรมพระไภษัชยคุรุฯจึงเกิดแนวคิดในการสรางพระกริ่งที่เป นรูปจําลองพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในพิธีกรรมท ําน้ํามนต เพื่อใชรั กษาอาการเจ็บปวยแทนการรูปที่องคพระโดยภายในองคพระใสเม็ดโลหะกลมขนาดเล็กไวเมื่อเขยาองค พระจะเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งและจากเส ียงนี้เองท ี่เปนที่มาของชื่อ “พระกริ่ง” ซึ่งจ ุดกําเนิดของพระกริ่งนั้นคงเริ่มขึ้นชวงพุทธศตวรรษที่ 13 ในประเทศทิเบตจากนั้นความเช ื่อดังกลาวไดเผยแผของสูดินแดนต างๆเช นประเทศจีนแตมีความเช ื่อที่ตางไปคือใชในการปองกันอันตรายขณะเด ินทางเนื่องจากเปนอํานาจพ ุทธคุณที่สําค ัญอีกด านหน ึ่งของพระไภษ ัชยคุรุฯและจากการที่ชาวจีนเปนชาต ิที่มีการติ ดตอคาขายก ับประเทศตางๆอยางกวางขวางโดยเฉพาะในด ินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต พอค าชาวจีนเหลานั้นจึงน ําความเช ื่อเกี่ยวกับพระกริ่งที่ใชพกติดตัวเพื่อป องกันอันตรายเข าสูดินแดนเหล านั้นและเมื่อความเชื่อในการบูชาพระกริ่งได เผยแผเขาสูประเทศไทยในชวงต นกรุงรัตนโกสินทรโดยผานพระสงฆชาวกัมพู ชาที่เขามาศึกษาพระธรรมวินัยในประเทศไทยและมีการพกพระกริ่งเพ ื่อปองกันอันตรายในขณะเดินทางความเชื่อเหลาน ี้จึงแพร หลายมากขึ้นจนเปนที่ยอมรับในสังคมไทยกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณจึงสร างพระกริ่งแบบไทยขึ้นบางและหลังจากม ีการสรางพระกริ่งขึ้นเป นครั้งแรกในประเทศไทยแลวก็มี การสรางพระกริ่งขึ้นตามว ัดตางๆหลายวัดแตวัดท ี่ไดรับการยอมร ับในอ ํานาจพ ุทธคุณมากที่สุดค ือวัดสุทัศนเทพวรารามเนื่องจากมีการสร างพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้อี กอยางต อเนื่องสม่ําเสมอผลการว ิจ ัยพบวา1. การสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกที่มีการกล าววามีการสรางตั้งแตสมัยอยุธยาโดยพระพนรัตเพื่อติดที่พระมาลาเบ ี่ยงของสมเด็จพระนเรศวรนั้นไม สามารถยืนยันขอมูลดังกล าวไดแต หลักฐานการสรางพระกร ิ่งขึ้นครั้งแรกในประเทศไทยที่ชั ดเจนที่สุดเป นการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นในพ.ศ. 2425 2. ต ําราในการสรางพระกริ่งที่มี การกลาววาไดนําตําราการสร างมาจากประเทศกัมพูชาและส ืบทอดตอก ันมาในสม ัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทรนั้นไมสามารถยืนยันการมีอยูของต ําราดังกลาวได อยางชัดเจน3. ร ูปแบบของพระกริ่งที่สรางข ึ้นในประเทศไทยในครั้งแรกที่กล าววาเปนการถอดรูปแบบมาจากพระกริ่งปทุมของประเทศกัมพูชานั้นมีจุดแตกต างหลายแห งจนไมสามารถยืนยันไดอยางชั ดเจนว าพระกริ่งปวเรศที่สรางข ึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกนั้นไดใช รูปแบบพระกริ่งปทุมมาเปนตนแบบในการสรางจริง4. การสรางพระกริ่งในประเทศไทยตั้งแต เริ่มตนสรางจนถึงปจจุบันสามารถแบงไดเปน 2 กล ุมใหญคือกล ุมที่รักษาร ูปแบบตามที่ปรากฏในอดีตกับกล ุมที่ไมรั กษารูปแบบ
บทที่ 1 บทนําความเปนมาและความสําคัญของปญหา (Statements and significance of the problems) พระพุทธเจ าศากยมุนีไดประกาศและเผยแผศาสนาพุทธขึ้นในประเทศอินเดียเมื่อ 2500 กวาปลวงมาแล วในสมัยพุทธกาลพุทธศาสนิกชนจะทําการเคารพนับถือ“ไตรสรณคมน”เปนหลักไมมีการน ับถื อกราบไหววัตถ ุอื่นใดท ั้งสิ้น1เมื่อพระพุทธองค ใกลดับข ันธปรินิพพานพระองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างสังเวชนียสถานขึ้น 4 แหงเพื่อใหพุทธศาสน ิกชนและพุทธสาวกใชปลงธรรมสังเวชและระลึกถึงพระพุทธองคในตําบลตางๆที่เปนสถานที่ประสูติตรัสร ูปฐมเทศนาและปรินิพพานไมมีการสร างรูปเคารพที่เปนรูปบุคคลเปนเครื่องแสดงแทนพระพุทธองคมีเพ ียงการใช สัญล ักษณแสดงพ ุทธประวัติตอนน ั้นๆคือเม ืองกุสินาราท ี่พระพุทธเจ าเสด็จดับขันธปรินิพพานไดทําเคร ื่องหมายโดยสรางพระสถูปไวที่เม ืองพาราณสีทํารูปเสมาธรรมจักรและกวางหมอบหมายถึงที่ซึ่งพระพ ุทธองคแสดงปฐมเทศนาที่เม ืองพุทธคยาก็คือต นโพธิ์ซึ่งเป นตนไมที่พระพ ุทธองคประทับที่โคนต นเมื่อตรัสร ูอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณและท ี่เมืองกบิลพัสดุนั้นเป นรอยพระพ ุทธบาทที่หมายถึงเม ื่อพระองคประสูติได เสด็จพระราชด ําเนินไปในทิศทั้งสี่ทิศละ 7 กาวจนพุทธศตวรรษที่ 6 ชาวอินเดียมีการติดตอก ับชาวกรีกและชาวเปอรเซียมากข ึ้นจึงม ีการสรางพระพุทธร ูปที่เปนรูปบุคคลขึ้นโดยได ตนแบบมาจากประติมากรรมกรีก2เชนพระพ ุทธรูปศิลาในศิลปคันธารราฐที่ปจจ ุบันอย ูที่พิพิธภ ัณฑดาหแลมกร ุงเบอรลิน (รูปท ี่ 1) จุดก ําเนิดของการสรางพระพิมพคงเกิดขึ้นในช วงใกลเคียงก ับการสรางพระพุทธร ูปซึ่งม ีนักว ิชาการใหความเห็นไวคลายๆก ันเชนศาสตราจารยยอรชเซเดสไดอางข อมูลของศาสตราจารยฟูเชรนักปราชญ ชาวฝรั่งเศสว าเม ื่อพุทธศาสนิกชนไดไปนมัสการสังเวชนียสถานท ั้ง4 แหงท ี่พระพุทธองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างขึ้นแตจากการเด ินทางที่เปนไปดวยความลําบาก
2จึงม ีการพิมพรู ปสังเวชนียสถานท ั้ง 4 แห งลงบนผาหรือดินเหนียวเพื่อใชเป นที่ระลึกวาเคยไปนมัสการสถานที่นั้นมาแล วและเมื่อมีการสรางพระพุทธร ูปขึ้นก็คงมีการสรางรูปพระพุทธองคพิมพ ลงบนวัตถุเชนด ินเหนียวเพื่อใชเป นที่ระลึกถึงพระพุทธองคแทนการใชรูปสังเวชนียสถานต างๆ3เห็นไดจากการสรางรูปพระพิมพที่ทําเป นรูปพระพุทธรูปปางแสดงธรรมประทับใตสถูปที่มีลักษณะคลายสถ ูปที่พุทธคยาพบที่อําเภอท ามะกาจังหว ัดกาญจนบุรี (รูปท ี่ 2) สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพไดกลาวถึงกําเนิดการสร างพระพิมพ วาจากการท ี่มีพุทธศาสน ิกชนไปบูชาสังเวชน ียสถานทั้ง 4 แห งที่พระพุทธองคไดทรงอนุญาตใหมีการสร างขึ้นกับสถานที่ที่พระพุทธองคทรงแสดงปาฏิหาริยอีก 4 แหง (ที่แสดงมหาปาฏิหาริยที่ทรมานพระยาวานรที่ทรมานช างนาฬาคิรีและที่เสด็จลงจากสวรรคชั้นดาวด ึงส) ความตองการระลึกถึงการมาสักการะสังเวชน ียสถานเหลาน ั้นจึงได สรางพระพิ มพขึ้นเป นชุดแสดง 8 ปางท ี่ตางก ัน4เพื่อเปนที่ระลึกและเมื่อการสรางรูปเคารพที่เปนรูปบุคคลไดรับการยอมร ับมากข ึ้นการสร างแมพิมพ สะดวกขึ้นมีวั สดุที่ใชในการสร างพระพิมพ ที่คงทนข ึ้นเช นทองแดงหรือหินทําให เกิดการสรางพระพิมพขึ้นอย างแพรหลายและเผยแผอิทธ ิพลดังกลาวส ูดินแดนต างๆเชนในพงศาวดารลังกาทวีปท ี่กลาววาพระเจ าอโศกมหาราชไดสงพระโสณะเถรและพระอุตตรเถรมาประกาศพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิตั้งแต ประมาณพุทธศตวรรษที่ 35แมวาไม มีหล ักฐานทางดานศิลปกรรมทั้งดานสถาปตยกรรมและประติมากรรมที่จะยืนยันขอความในพงศาวดารแตในพ ุทธศตวรรษที่ 11 เปนตนมาเราไดพบหลักฐานทางศิ ลปกรรมที่เกี่ยวของก ับพุทธศาสนาปรากฏขึ้นเชนพระปฐมเจด ียที่จั งหวัดนครปฐมถือว าเปนพระพิมพที่เก าที่สุ ดที่พบในประเทศไทยศาสตราจารยยอรชเซเดสเรียกพระพิมพเหลาน ี้วา”พระพิมพ แบบทวารวดี”6พระพิมพ ที่สร างขึ้นในชวงน ี้มักมีการสล ักคาถาภาษาสันสกฤตที่วา“เยธมมาเหตุ ปปภวาเตส ํเหต ุตถาคโตเตสํจโยนิโรโธจเอวํวาทีมหาสมโณติ.”ที่เป นคํากลาวซึ่งเปนหัวใจของพุทธศาสนาไวด วยเพ ื่อแสดงเหตุสําค ัญอีกประการของการสรางพระพิมพ โดยใชเพื่อสืบศาสนานอกจากการใชเพื่อเปนเครื่องระลึกถ ึงพระพุทธองคสวนการเก็บรักษาพระพ ิมพเหลานี้มักเก ็บไวในสถูปเจดียตางๆซึ่งการเก็บรักษาพระพิมพในเจดียนั้ นเราพบในทุกสม ัยของศิลปะไทยแมวาต ั้งแต ศิลปะลพบ ุรีลงมาจะไม พบการสล ักคาถาเยธมมาก็ตามแตจุดมุงหมายในการสรางพระพิมพ ของไทยก็ยังใช เพื่อสืบศาสนาและระลึกถึงพระพุทธองคนั้นเอง
3ในสมัยตนกรุงรัตนโกส ินทรชวงรัชกาลท ี่ 4 ไดมีการเปล ี่ยนแปลงความเชื่อในสังคมไทยโดยจากในอดีตที่ไมนิยมน ําพระพุทธรูปมาไวในบานก็เร ิ่มนําพระพุทธรูปมาไวในบานมีการสร างหองพระหรือหอพระเพื่อใช เปนที่บูชาและเก ็บรักษาพระพ ุทธรูปและพระพิมพ7อีกทั้งม ีการสรางพระพุทธร ูปขนาดเล็กที่ใชนําต ิดตัวพกพาไปไหนมาไหนระหวางการเดินทางเพื่ออาศัยอํานาจพ ุทธคุณชวยปกปองใหพนจากภย ันตรายซึ่ งพระพุทธรูปขนาดเล็กที่ใชนําต ิดตัวเพ ื่ออาศัยอํานาจพ ุทธคุณชวยปกปองใหพนจากภย ันตรายเหลานี้มักถ ูกเรียกว า“พระเคร ื่องราง” (พระเครื่อง)8ซึ่งมาจากการผนวกความเชื่อระหวางการนับถือการน ับถือเครื่องรางของขลังเขากับพระพุทธรูปหรือพระพิมพ ถือเป นการรวมอํานาจพุทธคุณเขากับอํานาจไสยขาวพระพุทธร ูปที่จัดวาเปนพระเครื่องในชวงแรกนี้มีทั้งท ําจากดินและจากโลหะแตพระท ี่ใชโลหะเป นวัสดุในการสรางและเมื่อเขยาแล วจะมีเสียงด ังกริ้งๆที่เรียกก ันวา“พระกริ่ง” ไดรับการยอมรับและศรัทธาในสังคมมากกวาอาจเนื่องจากรูปแบบของพระกริ่งนั้นคือพระไภษัชยคุรุฯซึ่งสมเด็จกรมพระยาด ํารงราชานุภาพได กลาวไวในหนังสือตํานานพุทธเจด ียวาพระกร ิ่งที่สรางขึ้นทุกองค เปนพระไภษ ัชยคุรุฯทั้งสิ้นและจากความเชื่อที่วาพระไภษ ัชยคุรุฯนั้นมีอํานาจพ ุทธคุณทําให ผูที่บูชาหายจากความเจ็บปวยทั้งหลายและพนจากภัยอันตรายตางๆดังน ั้นการสรางพระกริ่งที่เปนพระไภษั ชยคุรุฯขนาดเล็กขึ้นเพ ื่ออาศัยบารมีของพระไภษัชยคุรุฯนี้ชวยขจ ัดภยันตรายตางๆและใหผูที่พกพาต ิดตัวระหว างเดินทางปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวงจึงน าจะเปนมูลเหตุที่สําค ัญในการนับถือพระกริ่งเปนเสมือนเครื่องรางและนําติดตัวนอกจากนั้นพระกริ่งท ี่พบในประเทศไทยในชวงแรกน ี้มักไดมาจากพระสงฆเขมรซึ่งในความค ิดของคนไทยส วนใหญเชื่อว าชาวเขมรเปนชนชาติที่เก งและเชี่ยวชาญเรื่องคาถาอาคมดังน ั้นการสรางพระกร ิ่งก็คงมีการลงคาถาอาคมเพื่อใหผูที่บูชาได รับโชคลาภและปราศจากทุกภัยซึ่งน าจะเป นจุดเริ่มในการลงคาถาอาคมในพระพิมพเกิดความเชื่อถือในการบูชาแบบพระเครื่องขึ้นในประเทศไทยความมุงหมายและวัตถุประสงคของการศึกษา (Goal and objective) 1. ศึกษาถึงจ ุดเริ่มตนในการสรางพระกริ่งทั้งดานรูปแบบและความเชื่อ2. ศึกษาร ูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่พบในประเทศตางๆที่มีผลตอการสรางพระกริ่งในประเทศไทย 3. ศึกษาร ูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่มีมาในอดีตจนถึงปจจุบันในประเทศไทย
สมมติฐานของการศึกษา (Hypothesis to be tested) 1. การเกิดพุทธศาสนาฝ ายมหายานลัทธิตันตระเป นมูลเหตุสําค ัญในการเปลี่ยนแปลงความเชื่อในการสรางพระพิมพ และพระเคร ื่องที่แตเด ิมใชระลึกถึงพระพุทธเจาหรือสืบศาสนามาเปนการสรางเพื่อใช เปนเครื่องรางของขลังหรือวัตถุมงคลที่มีอํานาจศ ักดิ์สิ ทธิ์ตางๆ2. ความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่สามารถช วยใหสัตว โลกพนจากภ ัยพิบัติตางๆนําไปส ูการสรางพระกริ่งและอาจเปนมูลเหตุสําค ัญที่กอให เกิดการเปลี่ยนแปลงจุดมุงหมายในการสรางพระพิมพ มาเปนการสร างพระเครื่องข ึ้นเพื่อพกติ ดตัวและใชปองก ันอันตราย3 จุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยนั้นไดรับความเช ื่อและรูปแบบมาจากการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชาขอบเขตของการศึกษา (Scope or delimitation of the study) 1. ศึกษารูปแบบและความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่เป นตนกําเนิดของการสรางพระกริ่งในดินแดนตางๆว ามีผลตอการสรางพระกริ่งเชนไร2. ศึกษารูปแบบทางศิลปะและความเชื่อในการน ับถือพระกร ิ่งในดินแดนตางๆวาม ีรูปแบบและความเชื่อเชนไรสงผลต อการสรางพระกริ่งในประเทศไทยอยางไร3. ศึกษารูปแบบทางศิลปะและความเชื่อในการน ับถือพระกร ิ่งของประเทศไทยตั้ งแตเริ่มตนจนถึงป จจุบันขั้นตอนของการศึกษา (Process of the study) 1. เก็บขอมูลจากเอกสารต างๆที่มีผูทําการศ ึกษาไวในเรื่องราวที่เก ี่ยวกับการเกิ ดลัทธิและความเชื่อทางศาสนาความเชื่อและการบูชาเครื่องรางของขลังพระพิมพ พระเครื่องและพระกริ่งจากหองสมุดทั้งสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน2 เก็บขอมูลดานรูปแบบของเครื่องรางของขลังพระพิมพพระเครื่องและพระกริ่งจากพิพิธภ ัณฑสถานตางๆทั้งของร ัฐบาลและเอกชนในประเทศไทย3. เก็บขอมูลจากการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดานพระเครื่องประชาชนทั่วไปในสายอาชีพตางๆเพ ื่อเขาใจถึงแนวค ิดของความเช ื่อในการนับถือพระเคร ื่องและพระพิมพของคนในยุคปจจุบัน4. นําข อมูลที่ไดมาวิเคราะหสรุปผลหามูลเหตุในการน ับถือพระกริ่งคําจําก ัดความในการศึกษา (Definition) 1. “พระพิมพ ” หมายถึงพระบูชาขนาดเล็กที่สรางกันมาแตอดีตซึ่งม ักสรางขึ้นเพื่อเปนที่ระล ึกแทนพระพุทธองคหรือใชบรรจ ุในเจดีย เพื่อสืบศาสนา2. “พระเครื่อง” หมายถึงพระบูชาขนาดเล็กที่สร างขึ้นมาเพื่อจุดมุงหมายท ี่ใหใชพกต ิดตัวหร ือบูชาเพื่อใหเกิดอํานาจพุทธคุณในการปองกันอันตรายเกิดโชคลาภ
บทที่ 2 การเกิดพระกร ิ่งประวัติการเกิดพระไภษัชยคุรุตนกําเน ิดพระกริ่ง1. หล ักฐานที่ปรากฏในคัมภีรเมื่อพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียแบงเปนฝายเหนือและฝ ายใตพระเจากนิษกะกษัตริยราชวงศ กุษาณะปกครองตอนเหนือของประเทศอินเดียไดจั ดใหมีการประชุมพระสงฆฝายเหนือพรอมทําสังคยานาพระธรรมวินัย (ครั้งที่4) ขึ้นท ี่เมืองบุรุษบุรีเม ื่อพ.ศ.6249และโปรดใหบัญญ ัติพระธรรมว ินัยท ี่สังคยานาข ึ้นใหมเปนภาษาสันสกฤตโดยมีพระว ินัยบางขอท ี่เปลี่ยนแปลงไปเกิดพระไตรป ฎกที่แตกตางและเกิดพุทธศาสนามหายานซึ่งพระเจ ากนิษกะนั้นนับถือและเป นศาสนูปถัมภกในพ ุทธศาสนานิกายมหายานพระองคจึงบ ํารุงและเผยแผ พุทธศาสนาน ิกายนี้ออกสูดินแดนต างๆแตในสวนของคัมภีรตางๆท ี่กลาวถึงเรื่องราวเกี่ ยวกับการบ ูชาพระไภษัชยคุรุฯนั้นตามคัมภีรตางๆของพ ุทธศาสนาฝายหินยานไมมีการกล าวถ ึงเรื่องราวด ังกลาวเลย10สวนในค ัมภีรมหายานลลิตวิสระมีขอความสรรเสริญพระพุทธเจาแพทยผูสามารถปลดเปลื้องความเจ็บปวดและความทุกขทรมานของมนุษยโดยในอัธยายที่ 1 ชื่อน ิทานปริวรรตไดบรรยายวา11“พระองค เปนแพทยประทานยาค ืออมฤตพระองคกลาในการตรัสเจรจาแสดงลัทธิทําใหพวกมิจฉาทิฐิเรารอนไปตามก ันพระองคเปนพงศพันธุแห งพระธรรมทรงปราชญเปรื่องในปรมัตถธรรมพระองคเปนผูนําเป นผูชี้ ทางไมมีใครย ิ่งไปกวา” ซึ่งการกล าวถึงพระพุทธเจาแพทยนั้นสวนใหญ จะหมายถึงพระไภษัชยคุรุฯแตก็ไม ใชหล ักฐานที่ชัดเจนว าเปนเรื่องราวที่เก ี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯเน ื่องจากไมไดมีการกลาวพระนามไวอยางชัดเจนเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่ปรากฏในคัมภีรที่ชัดเจนท ี่สุดคงเปนเรื่องท ี่ปรากฏในพระสูตรสันสกฤตสูตรหนึ่งชื่อ“พระพุทธไภษัชยค ุรุไวฑ ูรยประภาราชามูลปณิธานสูตร”แปลเปนภาษาจีนในราวพุทธศตวรรษที่ 10 มีขอความว า1
“สม ัยหนึ่งพระผ ูมีพระภาคเจ าพระศากยมุนีพุทธเสด ็จประท ับณกร ุงเวสาลีสุขโฆสว ิหารพรอมดวยพระมหาสาวก 8,000 องคพระโพธิสัตว มหาสัตว 36,000 องค และพระราชาธิบดีเสนาอํามาตยตลอดจนปวงเทพพระมัญช ุศรีผูธรรมราชาบุตรอาศัยพระพุทธาภ ินิหาริยลุกขึ้นจากท ี่ประทับท ําจีวรเฉวียงบาข างหนึ่งคุกพระชาณ ุกับแผนด ินณเบื้องพระพักตรของสมเด็จพระโลกนาถเจาประคองอัญชลีกราบท ูลขึ้นวา “ขาแต พระผูมีพระภาคเจาขอพระองคโปรดประทานพระธรรมเทศนาพระพุทธนามและมหามูลปณ ิธานและคุณวิเศษอันโอฬารแหงปวงพระส ัมมาสัมพุทธเจาทั้งหลายเพ ื่อยังผูสด ับธรรมกถานี้ไดรับประโยชนบรรลุถึงสุขภ ูมิ์” พระบรมศาสดาทรงรับอาราธนาของพระมัญชุศรีโพธิสัตว แลวจึงทรงแสดงพระเกียรติคุณของพระไภษัชยค ุรุพุทธเจ าวา “ดูกอนก ุลบุตรจากที่นี้ไปทางท ิศตะวันออกผานโลกธาต ุอันม ีจํานวนด ุจเม็ดทรายในคงคานที 10 นทีรวมกันณที่นั้นมีโลกธาตุหนึ่งนามวาวิสุทธ ิไพฑูรยโลกธาต ุณโลกธาตุนั้นมีพระพุทธเจ าพระนามวาไภษัชยคุรุไวฑูรยประภาตถาคตพระองคถึงพร อมดวยพระภาคเป นพระอรหันตเปนผูตรัสรูดีชอบแลวด วยพระองคเองเป นผูสมบูรณดวยว ิชาและจรณะเปนผูเสด็จไปดีแลวเปนผูรูแจ งโลกเป นผูยอดเยี่ยมไมมีใครเปร ียบเปนนายสารถีฝกบุรุษเปนศาสดาแหงเทวดาและมนุษยเปนผูเบิกบานแลวเป นผูจําแนกธรรมกลาวสอนสัตวดูกอนม ัญชุศรีณเบื้องอดีตภาคเมื่อพระตถาคตเจาพระองคนี้ยังเสวยพระชาติเปนพระโพธิสัตว บําเพ ็ญบารมีอยูพระองคทรงตั้งมหาปณิธาน 12 ประการเพ ื่อยังความตองการแหงสรรพสัตวใหบรรลุ” โดยคําปณิธานทั้ง 12 ขอของพระไภษัชยคุรุฯนั้นมีดังน ี้131. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขอใหกายของขาฯมีรัศม ีรุงเรืองด ุจเปลวไฟสองแสงออกไปสูบริเวณท ั้งหลายโดยปราศจากขอบเขตจํากัดพรอมดวยพุทธลักษณะสําคัญ 32 ประการและลักษณะวิเศษประกอบอ ีก 80 ประการเมื่อนั้นขาฯจะยังใหสรรพสัตวทั้งหลายต ั้งอยูในความเสมอภาคเชนเดียวกับขาฯ2. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณกายของขาฯจะทอแสงดุ จมณีสีฟาอันปราศจากมลทินทั้งภายในและภายนอกเปลงแสงออกไปไกลแสนไกลทรงไวซึ่งค ุณธรรมอันยิ่งใหญประท ับอยางสงบมีรัศม ีสวางกวาพระจันทรและพระอาทิตยขาฯจะเป นผูนํ าปญญาสูสรรพสัตว ผูยังข องอยูในกิเลสเพื่อเขาจะไดดําเน ินชีวิ ตอยางอิสระตามปณิธานของแตละบุคล
73. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณดวยอ ํานาจแห งปญญาอันหาขอบเขตมิไดขาฯจะชวยสรรพสัตวทั้งปวงให พนจากความยากจนโดยจะไมมีวั นปราศจากสิ่งที่ตองประสงค ทั้งปวง4. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขาฯจะนําสรรพสัตวทั้งหลายท ี่เดินทางผิดใหหั นกลับสูแนวปฏิบัติเพ ื่อสัมมาส ัมโพธิญาณรวมทั้งการนําผูปฏิบัติตามสาวกยานและป จเจกพุทธยานใหหั นมาปฏิบัติตามแนวมหายาน5. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณขาฯจะนําสรรพสัตวอันม ีประมาณไม ไดผูซึ่งประพฤต ิปฎิบัติตามพรหมจรรยตามค ําสอนของขาฯไปสูความบริสุทธ ิ์หมดจดถึงที่สุดทั้ งในเบื้องตนทามกลางและบั้นปลายแมบางคนอาจยอหยอนท อถอยขอใหเขาเหลานั้นสูความบร ิสุทธ ิ์ทันท ีที่ได ยินพระนามของขาฯโดยจะไมตกไปสูอบายภูมิทั้งสาม6. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวมวลมน ุษยผูออนแอพิการง อยเปลี้ยเส ียขามีรูปร างหนาตานาเกลียดโงเขลาตาบอดหู หนวกมือลีบเทาลีบหลังคอมเปนขี้เร ื้อนกุฎฐังสติฟนเฟ อนและมีโรคภัยตางๆจงหายกลับคืนสูอาการปกติทั้งทางกายและใจทันท ีที่ได ยิ นพระนามของขาฯอวัยวะทุ กสวนของรางกายจงกลับค ืนสูภาวะสมบูรณโรคร ายทั้งหลายจะหายสิ้นเปนปกติ7. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวสรรพสัตวผูทนท ุกข ทรมานอยูด วยอาการปวยไขทั้งปวงบุคคลอนาถาไรญาติขาดที่พึ่งปราศจากแพทยหรือยารั กษาโรคไรที่พักพิงคนยากจนทั้งหลายเหลาน ี้จงหายจากโรคภัยทั้งปวงประสบสุขทั้งกายและใจถึงพรอมซ ึ่งญาติมิตรและโภคสมบัติและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณในที่สุด8. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวหญิงผูใดต องทนทุกข ทรมานจนถึงที่สุดบังเก ิดความเบื่อหนายต องการทําลายชีวิตต ัวเองไมอยากอยู เปนหญิงตอไปเมื่อไดยินพระนามของขาฯขอหญิงน ั้นไดไปเกิดเปนชายมีอว ัยวะรางกายเปนชายโดยสมบูรณและบรรลุอน ุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป นที่สุด9. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อข าฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวขาฯจะช วยสรรพสัตว ทั้งปวงให พนจากบ วงมารหลุดพนจากความเห็นผิดทั้ งปวงหากผูใดยึดมั่นในค ําสอนที่เปนอวิชชาขาฯจะชวยให เขาพนจากความหลงผิดและชวยให เกิดความเชื่อมั่นในหลักสัจธรรมและนําไปสูการดําเนินชีวิตตามแนวโพธิสัตว มิช ามินานจะไดบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
10. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณขาฯจะช วยพวกเขาทั้งหลายผ ูถูกโทษจองจ ําถูกผ ูกมัดถูกเฆ ี่ยนตีดวยหวายถูกจองจ ําดวยโซตรวนในคุกผูตองโทษหน ักหรือทนทุกขทรมานในความดุดันท ั้งทางกายและใจตองไดรับความเจ็บปวดมนุษยทั้งหลายเหล านี้เมื่อไดยินพระนามของขาฯจงเปนอิสระจากความทรมานทั้งปวงด วยอํานาจแหงค ุณธรรมอันประเสริฐของขาฯ11. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิ ญาณแลวขาฯจะช วยสรรพสัตว ทั้งปวงผูตองทนท ุกขทรมานด วยความอดอยากหิวกระหายหรือผูที่ตองหาเลี้ยงชีพด วยกรรมชั่วคนท ั้งปวงเหลานี้ถาต ั้งใจระลึกถึงพระนามของขาฯด วยความยึดมั่นจะเปนผูที่เพ ียบพรอมด วยอาหารและเครื่องดื่มทิพยขาฯจะใหพวกเขาไดลิ้มรสพระธรรมเปนผูพรอมดวยความส ุขปราศจากท ุกขทั้งปวง12. ขาฯขอปณิธานวาเมื่อขาฯไดจุติลงมาบนโลกและบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแลวมวลมนุษยผูยากไรอนาถาปราศจากเครื่องนุงหมไดรับความท ุกขทรมานจากยุงและแมลงวันทนทุกขอย ูในความหนาวรอนบุคคลเหล านี้เมื่อไดยินพระนามของขาฯจดจําดวยความยึดมั่นก็ จะไดรับเส ื้อผาแพรพรรณเครื่องประดับตกแตงและเครื่องประทินทั้งหลายหอมลอมด วยเสียงประโคมดนตรีปรารถนาสิ่งใดใหไดสิ่งน ั้นสมปรารถนาทุกประการสวนในประเทศจีนไดมีการกลาวถึงเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯว าพระถังซําจ ั๋งไดนําค ัมภีรชื่อ“ไภสัชยาคุรุ ไวฑูรยประภาตถาคตสูตร”ซึ่งเป นคัมภีรที่เก ี่ยวกับวิธีการบ ูชาพระ-ไภษัชยค ุรุฯเพื่อทําใหผูที่เจ ็บปวยหายจากโรคตางๆกล ับมาจากประเทศอินเดียราวพ.ศ. 115814สวนในประเทศทิเบตก็มีการกลาวว าราวพุทธศตวรรษที่ 13 กษัตริยถิสรองเดตสันไดเชิญท านคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียมาเผยแผ พุทธศาสนานิกายมหายานต ันตระพรอมนํารูปเคารพซึ่งเชื่อกันวาเปนรูปเคารพพระไภษัชยค ุรุฯจากประเทศอินเดียมาเปนตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบต15จากขอมูลที่ปรากฏในคัมภีรที่กล าวถึงในขางตนเปนหลักฐานที่ยืนย ันวามีเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯที่นับถือก ันในฐานะพระพุทธเจาแพทยไดเกิดขึ้นจริงและน าจะเกิดขึ้นคร ั้งแรกในประเทศอินเดียจากการกลาวถึงคัมภีรตางๆท ี่เกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯมักกลาวว าไดนําคัมภ ีรและความเช ื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯมาจากประเทศอินเดียจากน ั้นก็ไดเจริญแพรหลายสูประเทศตางๆเชนประเทศทิเบตประเทศจ ีน
2. หล ักฐานทางศิลปกรรมรูปเคารพเป นหลักฐานที่สําคัญในการยื นยันความเชื่อเกี่ยวกับไภษัชยคุรุฯวาม ีอยูจริงซึ่งการม ีแตเรื่องราวที่ปรากฏในคัมภีรนั้นเราไมสามารถกําหนดไดวาความเชื่อเหลานั้นเกิดขึ้นตามท ี่มีการกล าวอางหรือเปนการเข ียนเพิ่มเติมขึ้นในชั้นหลังการพบรูปเคารพจึงเปนสิ่งท ี่ช วยยืนยันประเทศอินเดียเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯที่มีการกล าวถึงในประเทศอินเดียนั้นเปนการกลาวขึ้นเฉพาะในคั มภีรเท านั้นเน ื่องจากในปจจุบันน ี้ยังไม เคยพบร ูปเคารพของพระไภษัชยคุรุฯเลย16จึงไมสามารถบอกรูปแบบที่แท จริงของพระไภษัชยค ุรุฯได แตหากเช ื่อตามตํานานที่วาท านคุรุป ทมสมภพไดนํารูปแบบพระไภษัชยคุรุฯของอินเดียมาเป นตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตดังน ั้นหากมีการสรางพระไภษัชยค ุรุฯขึ้นในประเทศอินเดียจริงรูปแบบก ็คงมีความใกลเคียงก ับพระไภษัชยค ุรุฯของท ิเบตคือเป นประติมากรรมลอยตัวประทับนั่งขัดสมาธิเพชรพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําหรือบาตรทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไมสวมเครื่องประดับประเทศทิเบตตามตํานานกลาววาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยอินเด ียไดนํารูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯจากประเทศอินเดียมาเป นตนแบบในการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตและพระไภษั ชยคุรุฯมีพระนามเปนภาษาทิเบตวา“มันลา”(Manla)แปลวาโอสถวิเศษ17ซึ่งข อมูลดังกลาวเป นสิ่งช วยยืนยันการนับถือพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยนอกจากนั้นยังพบพบประติมากรรมพระไภษัชยคุรุฯในประเทศนี้ (รู ปที่ 3) ยิ่งเป นหลักฐานช วยยืนยันการมีอยูจริงของความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯพุทธล ักษณะของพระไภษัชยคุรุฯของประเทศนี้นั้นเปนประติมากรรมลอยตัวประทับขัดสมาธิเพชรพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําหรื อบาตรพระหั ตถขวาแสดงปางมารวิชัยทรงเครื่องทรงอยางนักบวชประเทศจีนจากการนําค ัมภีร “ไภสัชยาคุรุไวฑ ูรยประภาตถาคตสูตร” มาแปลเปนภาษาจีนในชวงพุทธศตวรรษที่ 12 หร ือ(ราชวงศสุย) แตไมมีหล ักฐานการสรางประติมากรรมรูปเคารพจนสมัยราชวงศถังพระไภษ ัชยคุรุฯไดรับยกย องเสม ือนพระศากยม ุนี18จึงม ีการสรางวัดและรูปเคารพของพระองคทานประด ิษฐานแทนพระศากยมุนีโดยทําเป นประติมากรรมยืนบนดอกบ ัวพระหัตถขวาแสดงปางประทานพรพระหัตถซายถ ือหมอยาครองจีวรหมคลุม (รู ปที่ 4) ถาเป นประติมากรรมนั่งมักสร างพรอมบริวาร 2 องค คือพระโพธิสัตวสุริยประภาก ับพระโพธิสัตว จันทรประภา
ประเทศญี่ปุนเปนอีกประเท ศมีความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทย โดยกลาววากษัตริยเตนม ู (Tenmu) ซึ่งปกครองประเทศญี่ปุนราวพ.ศ. 1216 -122919ได สรางวัดเพื่อถวายแดพระไภษัชยค ุรุฯพรอมกับสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯโดยมีพุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวพระหัตถขวาแสดงปางประทานพรหรือประทานอภัยพระห ัตถซายถ ือหมอยาครองจีวรหมคลุม (รูปท ี่ 6) ขณะเด ียวกันมักสรางบริวาร 2 องค คื อพระโพธิสัตว สุริยประภาก ับพระโพธิสัตว จันทรประภาประกอบดวยเสมอขึ้นซึ่งก ็เปนหลักฐานที่ชวยย ืนยันความเช ื่อดังกล าวประเทศกัมพูชาแมพุทธศาสนาฝายมหายานไดเขาสูประเทศกัมพูชาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 15 แลวก็ ตาม20แตไม มีหลักฐานแสดงวามีการสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯเลยจนราวพุทธศตวรรษที่ 18 สมัยกษัตริยชั ยวรมันที่ 7 เราไดพบจารึกที่มีการกล าวถึงการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯเชนจาร ึกปราสาทตาพรหมจารึกปราสาทตาเมือนรวมถึงการท ี่กษัตริยชั ยวรมันที่ 7 โปรดใหใหสรางอโรคยศาลาขึ้นในเสนทางเดินทางตางๆราว 102 แห งซึ่งในอโรคยศาลานั้นใชเป นที่ประดิษฐานพระไภษัชยค ุรุฯโดยพระไภษัชยคุรุฯในประเทศนี้มีพุทธล ักษณะคลายพระพุทธรูปนาคปรกคือเป นประต ิมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิบนขนดนาคบนฝาพระห ัตถมีวัตถ ุทรงกรวยหรือวัชระอย ู (รูปท ี่ 7) จากหลักฐานท ี่กลาวถึงขางตนทั้งดานเอกสารที่มีคํากลาวหร ือบทสวดสรรเสริญที่ปรากฏอยูในคัมภีรฝายมหายานตางๆและหลักฐานที่เปนประติมากรรมรูปเคารพรวมถึงอาคารที่มีการสรางขึ้นโดยเฉพาะเพื่อใชประดิษฐานพระไภษัชยคุรุฯซึ่งเม ื่อกลาวโดยรวมแลวคงสรุปไดวาความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯคงเกิดข ึ้นในประเทศอินเดียกอนราวชวงพุ ทธศตวรรษที่ 10 แตเนื่องจากคนอินเดียนับถือพระโพธ ิสัตว อวโลกิเตศวรในฐานะพระพ ุทธองคผูดูแลและปกป องมนุษยอยูแลวจึงท ําให ความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯไมเปนที่ยอมรับและไมไดรับศร ัทธามากนักแตเม ื่อพุทธศาสนาฝายมหายานมีแนวคิดความเชื่อที่เปนนิกายใหมที่เรี ยกวานิกายตันตระซึ่งได เผยแผสูประเทศท ิเบตเขาไปรวมกับความเชื่อพื้นเมืองเดิมจนเป นที่ยอมรับในราวพุทธศตวรรษที่ 13-14กอให เกิดการนับถืออย างกวางขวางจนมีการสรางรูปเคารพขึ้นเพื่อใช กราบไหวบูชาและเมื่อความเชื่อเก ี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯน ี้ไดรับศร ัทธามากขึ้นอยางมากมายความเช ื่อดังกลาวก ็ไดเผยแผสูประเทศจีนและญี่ปุนตามลําด ับในราวพุทธศตวรรษที่ 15 และจากการที่มีการต ิดต อคาขายระหวางประเทศจีนกับดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใตพอคาชาวจีนจึงนําความเชื่อดังกลาวก ็ไดเขาส ูประเทศกัมพูชาราวพุทธศตวรรษที่ 18 กอนเผยแผ เขาสู ประเทศไทยในชวงเวลาใกล
ประวัติการเกิดพระกริ่งพระกริ่งคือพระพุทธรูปขนาดเล็กรูปแบบขององค พระโดยทั่วไปคือเปนพระพุทธรูปประทับบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะเพ ียงดานหนาพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายวางบนพระเพลาบนฝาพระห ัตถมีหมอยาหรือผลไมที่เป นยาวางไวซึ่งพ ุทธลักษณะมีความใกลเคี ยงก ับพระไภษัชยค ุรุฯจนทําใหนักว ิชาการสรุปวาพระกริ่งทุกองคคือพระไภษ ัชยคุรุฯ21ประเทศอินเดียตามที่กลาวมาแลวในตอนตนวาเรายังไมเคยพบรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯในประเทศน ี้เลยดังน ั้นเราก็ยังไม พบหลักฐานประติมากรรมพระกริ่งดวยเชนกันมีเพ ียงคํากล าวอางในเร ื่องราวเกี่ยวกับคัมภีรพระไภษ ัชยคุรุฯหรือการกลาวอางถึงการสรางพระพุทธร ูปของทิเบตนั้นได ใชรูปแบบทางศิลปกรรมของพระไภษัชยคุรุฯจากประเทศอินเดียเป นตนแบบแตจากการที่เราไมพบรูปเคารพในประเทศนี้ก็ทําให ไมสามารถกลาวไดอยางชัดเจนวามีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศน ี้ประเทศทิเบตจากขอมูลที่กลาวไวในตํานานเกี่ยวกับการเผยแผพุทธศาสนาของประเทศทิเบตวาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียไดนําพ ุทธศาสนามหายานนิกายตันตระและความเชื่อซึ่งเก ี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯเข าไปเผยแผในทิเบตราวพ.ศ. 129022ซึ่งพระไภษ ัชยคุรุฯในท ิเบตนั้นมีพระนามวา“มันลา” (Manla) แปลวาโอสถวิเศษแสดงให เห็นความเช ื่อในการนับถือพระไภษ ัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจ าแพทยอยางชัดเจนโดยอ ํานาจพุทธคุณของพระองคนั้ นสามารถชวยเหลือและรักษาเหลาสรรพสัตวใหหายจากโรคร ายตางๆไดโดยถาผูบูชาเจ ็บปวยรางกายตรงไหนก็ใหเอามือไปลูบพระไภษัชยคุรุฯที่ตรงน ั้นเช นเจ็บที่ตาก็ใหลูบท ี่พระเนตรเปนตน23แตวิธีนี้ได ทําให องคพระชํารุดและสึกกรอนจากการลูบของผูที่มาร ับการรักษาจึงม ีการคิดสรางพระไภษัชยค ุรุฯขนาดเล ็กที่เรี ยกวา“พระกร ิ่ง” ขึ้นเพ ื่อใช แชในน้ําเพื่อใหน้ําน ั้นเปนน้ําศักดิ์สิทธ ิ์ใหผูที่ไม สบายไดอธิฐานจ ิตแลวดื่มน ้ําแทนการลูบที่องคพระก็จะท ําใหผูเจ ็บปวยหายจากความไมสบายตางๆและเพ ื่อใหพระไภษัชยคุรุฯขนาดเล็กที่สร างขึ้นถึงพรอมด วยพุทธภาวะอันสมบูรณจึงได สรางผลโลหะขึ้นแลวประจุลงภายในองคพระจนอาจารย ในพิธีอุทานออกมาวา”กึงกุสโล” ซึ่งสมเด ็จพระส ังฆราชแพติสสเทวเปนพระสงฆผูมีความร ูและความเช ี่ยวชาญในการสรางพระกริ่งในประเทศไทยได รับส ั่งถึงความหมายของคําวา”กึงกุสโล”นั้นเปนรากของคําวา“กร ิ่ง”24ซึ่งเป นที่มาของชื่อที่เรียกกันวา”พระกร ิ่ง”
นอกจากนั้นในประเทศทิเบตนี้เรายังพบหลักฐานทางศิ ลปกรรมทําเปนประติมากรรมลอยตัวองคพระพุทธร ูปประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายพระหัตถขวาแสดงปางมาวิชัยพระหัตถซายวางบนพระเพลามีวัตถ ุทรงกลมวางบนฝาพระห ัตถซึ่งลักษณะด ังกลาวตรงกับพุทธ-ลักษณะของพระกริ่ง (รูปท ี่ 8) และแสดงถ ึงอิทธ ิพลของศิลปะแบบปาละของอินเดียจากขอมูลดังกลาวทั้งดานเอกสารและงานศิลปกรรมจึงเปนเครื่องยืนยันวาในประเทศทิเบตนี้มีความเชื่อเกี่ยวกับพระกร ิ่งเกิดขึ้นแน นอนและเกิดขึ้นหล ังจากทานคุรุปทมสมภพไดนําความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯเข าไปเผยแผในทิเบตแลวในปพ.ศ. 1290 ดังน ั้นจุดกําเนิดการสรางพระกริ่งในประเทศนี้คงอยูในราวปลายพุทธศตวรรษที่ 13 ถึงต นพุทธศตวรรษที่ 14 คือหล ังจากที่ความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯไดเขาสู ประเทศทิเบตและเปนที่ยอมรับแลวนั่นเองประเทศจีนจากขอมูลที่กลาวถึงการนับถือพระไภษัชยคุรุฯไดเขาส ูประเทศจีนตั้งแตสมัยราชวงศสุยราวพ.ศ. 1158 และไดรั บยกยองสูงสุดในสม ัยราชวงศ ถัง (พ.ศ.1161 – 1450)25และในช วงเวลานี้เองไดเก ิดแนวคิดการสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกโดยส วนหนึ่งอาจไดรับอิทธ ิพลมาจากประเทศทิเบตเนื่องจากในประเทศจีนก็มีความเช ื่อในเรื่องอํานาจพุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯว าสามารถชวยร ักษาคนเจ็บปวยไดจากการลูบที่องคพระซึ่งการท ําดังกลาวคงท ําใหเกิดความชํารุดเสียหายที่องคพระจึงเก ิดแนวคิดสรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมเช นเดียวกับในประเทศทิเบตดังน ั้นการสรางพระกร ิ่งขึ้นในประเทศจีนนั้นคงสรางขึ้นหลังจากที่พระไภษัชยคุรุฯได รับการยกยองว าเปนเสมือนพระพุทธเจาหรือพระศากยมุนีคือม ีอายุไมเกาไปกวาพุทธศตวรรษที่ 14 ประเทศกัมพูชาพุทธศาสนาแบบมหายานไดเขาสูประเทศกัมพูชาตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 1526แตไม ไดมีการกลาวถึงพระไภษัชยคุรุฯเลยอาจเนื่องจากพุทธศาสนามหายานนับถือพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรเปนพระผูดู แลและปกปองมนุษยใหพนจากภัยพิบัติ27อยูแลวความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯจึงไม เปนที่ศรัทธาและไดรับการนับถือแตหล ักฐานเกี่ยวกับพระกริ่งนั้นมีการพบพระกริ่งที่เรียกวาพระกริ่งบาเก็งอยูบนยอดเขาพนมบาเก็งที่สรางขึ้นชวงกลางพ ุทธศตวรรษที่ 15 แตเน ื่องจากพระกริ่งเหลานั้นไมมีหลักฐานที่ชัดเจนท ี่สามารถระบุไดวาเป นพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศนี้อีกทั้งความเชื่อเก ี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯก ็ยังไม ปรากฏข ึ้นอยางชัดเจนและพุทธลักษณะของพระกริ่งที่พบนี้
คลายก ับพระกริ่งใหญของจ ีนนักว ิชาการหลายทานเชนสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพจึงสันน ิษฐานวาพระกริ่งที่พบบนเขาพนมบาเก็งนั้นอาจเปนของที่นําเข ามาจากเมืองจีน28จนถึงสม ัยกษัตริยชัยวรมันที่ 7 ราวพุทธศตวรรษที่ 18 เราไดพบจารึกหลายหลักท ี่มีการกลาวถึงการบูชาพระไภษัชยคุรุฯเชนจาร ึกปราสาทตาพรหมจารึ กปราสาทตาเมือนและในช วงเวลาดังกลาวได มีการสร างพระกริ่งที่เรียกวา“พระกร ิ่งตั๊กแตน”ขึ้นซึ่งอาจเป นพระกร ิ่งแบบแรกที่ชางเขมรสร างขึ้นตามแนวคิดของชางเขมรตามความเชื่อในศาสนาพราหมณดังน ั้นการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชานี้หากเรายังไม สามารถพิสูจน ถึงแหล งที่สรางพระกริ่งที่พบบนเขาพนมพนมบาเก็งไดวาสร างจากที่ไหนก็คงเป นไปไดวาพระกร ิ่งที่พบในชวงแรกในประเทศนี้คงเปนของที่นําเข ามาจากประเทศจีนตามท ี่สมเด็จกรมพระยาด ํารงราชานุภาพทรงแสดงพระราชวินิจฉั ยไวสวนความเชื่ อในการนับถื อพระกริ่งและพระไภษัชยคุรุฯคงได เผยแผเขาสูประเทศก ัมพูชาในราวพุทธศตวรรษที่ 17 และเปนที่ยอมรับในท ี่สุดจนกษ ัตริยเขมรพระนามวาพระเจาปทุมสุริยวงศ29ไดโปรดใหสรางพระกริ่งขึ้นบางโดยอาศัยร ูปแบบพระกริ่งจีนเปนตนแบบพระกริ่งที่สรางขึ้นนี้ถูกเรียกว าพระกริ่งพระปทุมเมื่อพระกริ่งพระปทุมไดรับศร ัทธาจากชาวกัมพูชาแลวศาสนาพราหมณก็ เกิดแนวคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางที่มีลักษณะเฉพาะเรียกวาพระกริ่งตั๊กแตนจากขอมูลที่กลาวมาในขางตนเราคงสรุปถึงจุดกําเนิดของพระกริ่งไดวาเป นรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯที่ทําให มีขนาดเล ็กลงเพ ื่อใชในการท ําพิธีกรรมในการทําน้ํามนตหรือน้ําศักด ิ์สิทธ ิ์เพ ื่อใชรักษาอาการเจ็บปวยตางๆแทนการล ูบที่องคพระไภษัชยคุรุฯหรือใชพกต ิดตัวขณะเดินทางเพื่อปองกันอันตรายโดยจุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งเทาที่พบหลักฐานทางศิลปกรรมในป จจุบันน ี้คงกลาวไดวาเก ิดขึ้ นที่ประเทศทิเบตเปนแหงแรกในความเชื่อของพุทธศาสนามหายานแบบตันตระราวพุทธปลายศตวรรษที่ 13 พุทธศตวรรษที่ 14 จากน ั้นก็ไดเผยแผความเชื่อเหลานั้นเขาสูประเทศจ ีนราวพ ุทธศตวรรษที่ 14 – 15 สวนในประเทศกัมพูชาแมจะพบรูปประต ิมากรรมของพระกริ่งตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 15 แล วก็ตามแตเน ื่องจากความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯยังไม ปรากฏชัดเจนดังน ั้นรูปประติมากรรมพระกริ่งที่พบชวงแรกคงเปนของท ี่นําเข ามาจากประเทศจีนจนกระทั่งพุทธศตวรรษที่ 17 จึงม ีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศกัมพูชาเรียกวาพระกริ่งพระปทุมและจากการสรางพระกริ่งพระปทุมนี้เองที่นํ าไปสูความเชื่อในการนับถือและสรางพระกริ่งในประเทศไทยซึ่งจะกลาวถึงในบทที่ 4 ตอไป
บทที่ 3 รูปแบบและความเชื่อในการนับถือพระกริ่งในประเทศตางๆรูปแบบและความเชื่อในการนับถือพระกริ่งตามประวัติการเกิดพระกริ่งที่วาพระกริ่งท ี่สรางขึ้นทุกองคนั้นหมายถ ึงพระไภษัชยคุรุฯแตมีขนาดเล ็กลงเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมหรือพกติดตั วขณะเดินทางดังน ั้นความเช ื่อและรูปแบบของพระกริ่งในประเทศตางๆที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นจึงม ีความใกลเคียงก ับความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯโดยมีรายละเอียดของรูปแบบศิลปกรรมและความเชื่อที่พบในประเทศตางๆดังนี้ประเทศอินเดียปจจ ุบันนี้เรายังไมพบหลักฐานที่เปนรูปประติมากรรมพระไภษัชยคุรุฯและพระกริ่งในประเทศนี้เลยจึงไม สามารถทราบถึงรูปแบบท ี่ชัดเจนของพระกริ่งในดินแดนนี้ตามที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 2 อีกทั้งจ ุดเริ่มต นของการสรางพระกริ่งนั้นนาจะเกิดขึ้นหล ังจากพระไภษัชยคุรุฯไดรับศรัทธาในการบูชาในเรื่องชวยรักษาคนปวยจากการลูบที่องคพระดังน ั้นเมื่อในประเทศอ ินเดียนี้ไมไดมีความเช ื่อที่ชัดเจนในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯก็น าจะไมมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้ดานความเช ื่อหากเราเชื่อตามตํานานวามีการสรางพระกริ่งขึ้นจริงโดยพระปรมาจารยฝายเหน ือผูถือค ัมภีรสันสกฤตได สรางขึ้น30โดยมีพุทธลักษณะที่สําค ัญเชนองคพระประทับบนดอกบัวถือวาเปนครรภธาตุที่เป นสัญล ักษณของโพธิจิตแห งคัมภีรมหาไวโรจนสูตรพระหัตถซายถ ือเครื่องพุทธบริโภคเชนหม อน้ําหรือพุทธอุปโภคเชนวั ชระ (วัชระเป นสัญล ักษณของปญญาอันกลาแข็งของพระธยานิพุทธต ัดซึ่งอวิชชาและกิเลส) และในองคพระประจ ุผลโลหะแตละผลโลหะนั้นเปนสัญล ักษณหมายถึงพระพ ุทธเจาแตละองค31พระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นก็ก็สมบ ูรณด วยพุทธภาวะมีกฤตยาคุณอาถรรพณทั้งพระเดชและพระคุณตามคัมภีร มนตรยานเรียกวาจตุรอาถรรพณ
ดังน ั้นหากมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้จริงตามพุทธลักษณะที่กล าวไวขางตนซึ่งน ําสัญล ักษณตางๆมาเป นตัวกําหนดร ูปแบบองคพระก็แสดงวาพระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นผูสรางหวังใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยอันตรายตางๆมากกว าชวยรักษาอาการเจ็บปวยประเทศทิเบตจากจุดเริ่มตนของแนวคิดในการสรางพระกริ่งในประเทศนี้ที่วาผูที่เจ ็บปวยตองการหายจากโรครายตางๆนั้นใหไปขอกับพระไภษัชยค ุรุฯโดยถาหากรูสึ กไมสบายหรือเจ็บที่สวนไหนก็ให ไปลูบท ี่สวนน ั้นขององคพระด วยการกระทําดังกล าวทําให รูปเคารพพระไภษัชยค ุรุฯเกิดความชํารุดจึงได สรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใชในพ ิธีกรรมด ังกลาวโดยร ูปแบบพระกริ่งของประเทศนี้นั้นกลาวกันวาเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 ทานค ุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียไดนําพ ุทธศาสนาฝายมหายานตันตระเขาสูประเทศท ิเบตเนื่องจากพุทธศาสนานิกายตันตระม ีความเชื่อในเร ื่องคาถาอาคมคลายความเชื่อในลัทธิบอนปะที่เปนความเช ื่อพื้นเมืองเดิมสังฆมณฑลท ิเบตและประชาชนจึงเกิดความเลื่อมใสศรัทธาทานค ุรุปทมสมภพจ ึงไดสรางพระพุทธรูปขึ้นโดยนํารูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯที่หมายถึงพระธยานิพุทธมาเป นตนแบบการสรางพระพุทธร ูปเหลานั้นมีตั้งแต ขนาดเล ็กจนถึงขนาดใหญ33โดยพุ ทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งคือประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ําอมฤตวัชระพระขรรค (พระกริ่งทิเบตมักถ ือวัชระในพระหัตถซาย) พระศอคลองลูกประค ําทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชครองจ ีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาไม สวมเคร ื่องประดับพระพั กตรคอนข างกลมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กเปนประติมากรรมลอยตัวมีเนื้อสั มฤทธิ์ทอง (สีเหล ือง) และสัมฤทธิ์เงิน(เนื้อขาว) บางทานเรียกสัมฤทธ ิ์ขาวซึ่งเป นเนื้อสัมฤทธ ิ์ที่พบน อยภายในบรรจ ุเม็ดโลหะทรงกลมเพื่อใหเวลาเขยาแล วเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่งเม ็ดโลหะนี้เปนสั ญลักษณของพระพุทธเจาแตละองค (รูปท ี่ 8) ซึ่งจากข อมูลการเขามาของพุทธศาสนาสูประเทศทิเบตนั้นกลาววาทานคุรุปทมสมภพคณาจารยชาวอินเดียในนิกายตันตระที่ได เดินทางมาเผยแผพุทธศาสนาในทิเบตราวพ.ศ. 129034ทานคงน ํารูปแบบทางศ ิลปกรรมของอินเดียแบบปาละที่เจริญอยูในช วงเวลาน ั้นเขาส ูประเทศทิเบตดวยซึ่งพ ุทธลักษณะดังกล าวของพระกริ่งพบวามีความใกลเคี ยงกับลักษณะของพระพุทธรูปในศิลปะปาละของอินเดียคือองค พระประทับนั่งขัดสมาธ ิเพชรบนฐานบัวพระพักตรคอนข างกลมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาจึงอาจกล าวไดวาพระกริ่งทิเบตที่สรางขึ้นนี้มีการร ับรูปแบบศิลปกรรมมาจากศิลปะแบบปาละของอินเดียและนาจะม ีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 14
สวนความเช ื่อในการบ ูชาพระกริ่งของทิเบตนั้นจากจุดเริ่มต นในการสรางพระกริ่งที่หวังใหพระกร ิ่งเปนตัวแทนของพระไภษัชยคุรุฯโดยทําจ ําลองใหมีขนาดเล ็กลงแลวใช แชในน้ําเพื่อทําน ้ํามนตใหผูเจ ็บปวยดื่มน้ํามนตนั้นเพ ื่อรักษาอาการไมสบายตางๆ35แทนการลูบที่องคพระดังน ั้นความเชื่อในการบูชาพระกริ่งของประเทศนี้ก็นาจะตั้งอย ูบนความเชื่อในอํานาจพุทธคุณที่วาช วยรักษาอาการเจ ็บปวยตางๆแตเป นที่นาสังเกตว าในพระห ัตถของพระกริ่งทิเบตกลับถือวัชระซึ่งการถือว ัชระแสดงใหเห็นถึงความเชื่อในการชวยปองกันอันตรายต างๆดังน ั้นเราอาจกล าวไดวาจากพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่ทําเปนรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯและในพระหั ตถซายถ ือวัชระหรือถือหมอยาก็นาจะตองการใหพระกริ่งนั้นมีอํานาจพ ุทธคุณครบทั้งด านรักษาอาการเจ็บปวยตางๆและชวยปองก ันภัยอันตรายตามความเชื่ อเดิมของการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯประเทศจีนจุดเริ่มต นการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้พบวาไดมีการสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกหลังจากที่ความเชื่อในเรื่องราวเกี่ยวกับพระไภษ ัชยคุรุฯได รับยกย องเป นเสมือนพุทธเจาอีกองค หนึ่งของจีนในช วงพุทธศตวรรษที่ 14 และหลังจากนั้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศนี้อีกหลายรุนโดยมีรูปแบบท ี่แตกตางกันบางแตไมมากนักโดยพระกร ิ่งที่สําค ัญของจีนสามารถแบงตามพุทธล ักษณะออกเป นกลุมใหญๆได 3 กล ุม1. พระกริ่งใหญ (รูปที่ 9) เปนพระกริ่งแบบแรกที่สรางขึ้นในประเทศจีนเนื่องจากมีขนาดที่ใหญกวาพระกริ่งแบบอื่นจึงม ักเรี ยกวา “พระกริ่งใหญ ” หรือ “พระกริ่งใหญจีน” พุทธล ักษณะของพระกริ่งใหญคลายพระกริ่งทิเบตคือประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายซ ึ่งมีกลีบบัวเฉพาะดานหนา 7 คูดานหล ังเปนฐานเรียบพระพั กตรกลมพระเนตรเปนแบบจีนคื อเปนเสนตรงปลายชี้ขึ้นพระเกศาขมวดเปนกนหอยซ อนกัน 2 ชั้นรัศม ีเปนดอก-บัวต ูมพระองค เพรียวบางได สัดสวนทรงเครื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจ ีวรหมเฉ ียงเปดพระอังสาขวามีตุมคล ายไขปลาหรือลูกประคําบริเวณขอบชายจ ีวรเริ่มตั้งแตพระอังสาซายผ านลงมาถึงซอกพระกรพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระที่กนฐานม ีรอยอุดชองแสดงถ ึงการบรรจุเม็ดกริ่งไว ในองคพระหลังจากหลอองค พระแลวจากพุทธลักษณะของพระกริ่งใหญแสดงถึงการรับรูปแบบศ ิลปกรรมจากพระกริ่งทิเบตเชนล ักษณะของพระพักตรการครองจีวรแบบห มเฉียงเปดอังสาขวาซึ่งพระพุทธรูปในพุทธศิลป แบบจีนนิยมครองจีวรแบบหมคลุมการประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายก ็เปนลักษณะท ี่ปรากฏในพระกริ่งทิเบตและเปนเครื่องยืนยันวาพระกริ่งนี้สรางขึ้นบนความเชื่อในศาสนา
พุทธฝ ายมหายานการแสดงปางและการถือวัชระในพระหัตถซายก ็ยังเป นรูปแบบเชนเดียวกับรูปแบบของพระกริ่งทิเบตซึ่งถาพระกริ่งใหญของจ ีนนี้นําพ ุทธลักษณะของพระไภษัชยค ุรุฯแบบจีนมาเป นตนแบบในการสรางพระกริ่งจีนการแสดงปางในพระหัตถ ขวาก็นาจะแสดงปางประทานพรหรือประธานอภัยซึ่งเปนปางที่ไภษัชยคุรุฯของจีนแสดงรวมถึงว ัตถุที่วางบนพระห ัตถซายน าจะเปลี่ยนเป นหมอยาเพราะพระไภษัชยค ุรุฯของจ ีนจะถือหม อยา36แตขณะเด ียวกันพระกร ิ่งใหญก็ได แสดงพุทธศ ิลปแบบจีนไวเช นกันเช นลักษณะของพระเนตรที่ทําเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นที่เหมือนก ับลักษณะพระเนตรของพระพุทธรูปจีนทั่วไปนอกจากน ั้นการทําตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรก็เป นพุทธศิลปแบบจีนซึ่งไม เคยพบในการสรางพระกริ่งทิเบต2. พระกริ่งบาเก็ง (รูปที่ 10) เปนพระกริ่งอีกรูปแบบหนึ่งของจีนสาเหตุที่เรียกว าพระกริ่งบาเก็งนั้นเนื่องจากมีการพบเปนคร ั้งแรกที่เขาพนมบาเก็งในประเทศก ัมพูชาพ.ศ. 246037พุทธล ักษณะของพระกริ่งบาเก็งตามประว ัติกล าววาชางไดถอดแบบจากพระพุทธรูปในวัดฮุดเกงยี่วัดเหี้ยนทงยี้38สรางขึ้นในมณฑลซัวไซของประเทศจีนในช วงพุทธศตวรรษที่ 15-1639พุทธล ักษณะทั่วไปคลายพระกริ่งทิเบตและพระกริ่งใหญ คือเป นประติมากรรมลอยตัวประทับนั่งข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกลีบบัวเปนต ุมนูนอยูดานหน า 7 คูดานหล ังของฐานพระเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กซอนกัน 3 ชั้นพระนลาฏคอนขางแคบกวาพระกร ิ่งแบบอื่นพระเนตรทั้ง 2 ขางน ูนเดนมองลงต่ําอยางสํารวมพระนาสิกโดงเปนสันพระอ ุระคอนข างอวบอวนพระกรขวามีกลามเนื้อนูนเล็กน อยพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวามีตุมคลายไขปลาหรือลูกประคําบริเวณขอบชายจีวรทั้งดานหน าและดานหลังรวมทั้งบริเวณข อพระกรซายภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูภายในเม ื่อเขยาแลวจะทําให เกิดเสียงด ังกร ิ๊งๆจากพุทธลักษณะของพระกริ่งบาเก็งดังกลาวจะเห็นวามีการรับรูปแบบทางศ ิลปกรรมในการสรางพระกริ่งแบบทิเบตเขามามากกวาการใชรูปแบบศ ิลปกรรมแบบจีนดั งนั้นพุทธลักษณะในหลายสวนจึงตางจากพระกริ่งใหญเชนลักษณะของพระพักตรที่คอนข างกลมลักษณะพระเนตรที่นูนเด นมองลงต่ําอยางสํารวมไมไดทําเป นเสนตรงก ็แสดงใหเห็นถึงการปฏ ิเสธรูปแบบศิลปกรรมของจีนอยางชัดเจน
183. พระกริ่งหนองแส (รูปท ี่ 11) การที่พระกริ่งแบบนี้ถูกเรียกว า “พระกริ่งหนองแส” เพราะเชื่อวาเปนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นในอาณาจักรน านเจาที่มีเม ืองหลวงอยูที่หนองแส40เปนพระกริ่งของจีนที่มีอาย ุนอยที่สุดโดยสร างขึ้นในชวงพุทธศตวรรษที่ 16-1741พุทธล ักษณะคือองคพระประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาฐานด านหลังเรียบองค พระคอนข างเพรียวบางกวาพระกริ่งบาเก็งและเอนไปดานหลังจนองคพระดูเหมื อนเกือบหงายหลังพระพักตรกลมพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กพระเกศมาลาทําเป นรัดเกลาคล ายพระโพธิสัตวในพุทธศาสนานิกายมหายานพระเนตรท ั้ง 2 ขางน ูนเดนมองลงต่ําอย างสํารวมไม เฉียงขึ้นเหม ือนพระกริ่งใหญพระนาสิกนูนใหญพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยมีกล ามเนื้อเล็กนอยพระห ัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบชายจี วรมีตุมคล ายไขปลาหร ือลูกประคําเชนเดียวกับพระกริ่งใหญ หรือพระกริ่งบาเก ็งสวนพุทธลักษณะที่สําค ัญที่ตางจากพระกร ิ่งแบบอื่นคือพระกริ่งหนองแสนี้หลอตันไม มีเม ็ดโลหะขนาดเล็กอย ูในองคพระจากพุทธลักษณะของพระกริ่งหนองแสแสดงใหเห็นรูปแบบที่ใกลเคียงกับพระกริ่งบาเก็งและพระกริ่งทิเบตทั้ งลักษณะพระพักตรพระเนตรการแสดงปางและของที่ถือบนพระหัตถแสดงใหเห็นแนวคิดถึงการยึดมั่นในร ูปแบบหล ักของพระกริ่งแตขณะเด ียวกันการท ี่พระกริ่งหนองแสมีลักษณะพ ิเศษคือหลอตันไมมีเม ็ดกริ่งอยูในองคพระซึ่งอาจเน ื่องมาจากองคพระที่มีขนาดเล็กจึงมีปญหาด านเทคนิคในการหลอและใสเม็ดโลหะในองคพระหร ืออาจเนื่องจากตองการแสดงใหเห็นวาพระกริ่งหนองแสนี้สรางขึ้นในพุทธศาสนาฝายมหายานมากกวาพุทธศาสนามหายานแบบตันตระซ ึ่งเห็นไดจากการทําพระเกศาในล ักษณะรัดเกลาเป นมวยดังน ั้นถากลาวโดยรวมถึงการสรางพระกริ่งจีนทั้ง 3รูปแบบแล วคงสร ุปไดวาพระกร ิ่งที่สร างขึ้นในประเทศจีนคงยึดรูปแบบการสรางพระกริ่งตามรูปแบบที่ไดรับการถ ายทอดมาจากการสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตเปนสําค ัญเชนจากล ักษณะของการแสดงปางการประท ับบนฐานบัวหรือวัตถุที่วางบนฝ าพระหัตถมากกว าการใชรูปแบบของพระไภษัชยคุรุฯที่สร างขึ้นในประเทศจีนมาเป นตนแบบซึ่งเห ็นไดจากความแตกตางของพุทธลักษณะของพระกริ่งจีนกับพระไภษ ัชยคุรุฯของจีนที่มีความแตกตางกันในหลายสวนตามท ี่ไดกลาวมาแลวแตขณะเด ียวกันก็มีการผสมผสานรูปแบบศ ิลปกรรมจีนลงไปในบางสวนอาจเพ ื่อตองการใหเห็นความแตกตางของพระที่สรางในจีนกับในท ิเบตเชนการเปลี่ยนแปลงลักษณะของพระพักตรและพระเนตรรวมถ ึงลั กษณะของตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรที่ ไมปรากฏในพระกริ่งทิเบต
สวนด านความเชื่อในการนับถือพระกริ่งของจีนนั้นพบวาเมื่อเริ่ มตนของการเขามาของความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯในพุทธศตวรรษที่ 12 คนท ั่วไปไดนับถือพระไภษัชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยเชนขอความที่อยูในอภ ิเษกสูตรที่กลาววาถาม ีผูปวยหน ักจนหมดหวังก็ใหพระสงฆอ านพระสูตรของพระไภษัชยคุรุฯ 49 คร ั้งอาการผ ูปวยก ็จะดีขึ้น42ดังน ั้นการสรางรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯที่ ประดิษฐานตามวัดในประเทศจ ีนสวนใหญ ในพระหัตถซายม ักถือหมอยาหรือผลไมที่เป นโอสถซึ่งสอดคล องกับความเชื่อในการเปนพระพุทธเจาแพทยสวนความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งนาจะเปนความเชื่อที่เขาสู ประเทศจีนทีหลังจากความเชื่อในพุทธศาสนามหายานแบบตันตระดังน ั้นพระกริ่งของในประเทศจีนจึงทรงวัชระในพระหัตถซายซึ่งเป นสัญล ักษณของพุทธศาสนามหายานแบบตันตระและการที่พระกริ่งจีนไมไดถือหมอยาในพระหัตถซายน ี้เองจึงเปนไปไดวาพระกริ่งเหลานี้คงสรางขึ้นจากความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณที่ชวยขจ ัดอันตรายในการเดินทางและจากการที่พบพระกริ่งจีนทั้งพระกร ิ่งหนองแสพระกร ิ่งใหญพระกร ิ่งบาเก็งกระจายอยูในดินแดนตางๆเชนประเทศไทยประเทศกัมพูชายิ่งท ําใหเราเชื่อไดวาพระกร ิ่งเหลาน ั้นพอคาชาวจีนคงนําติดตัวเพื่อป องกันอันตรายขณะเดินทางไปติดตอท ําการคาในสถานที่ตางๆ43ประเทศกัมพูชาแมเราจะพบหลักฐานเกี่ยวกับพระกริ่งตั้งแตราวพุทธศตวรรษที่ 15 แตเน ื่องจากไมสามารถยืนยันไดวาพระกริ่งเหลาน ั้นเปนพระกริ่งท ี่ชางชาวขอมสรางขึ้นในดินแดนหรือนําเขามาจากตางแดนจนชวงพุทธศตวรรษที่ 17 ความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งคงไดเดินทางเขาสูประเทศกัมพ ูชาและเมื่อกษัตริยชาวกั มพูชาเริ่มศร ัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจึงค ิดสรางพระกริ่งขึ้นโดยพระกริ่งของกัมพูชาที่สําค ัญมี 2 ลักษณะใหญๆคือ1. พระกริ่งพระปทุมหรือพระกริ่งปทุม (รูปที่ 12) เปนพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพ ูชามีอายุประมาณ 1,000 ป44สรางโดยพระเจาปทุมสุริยวงศ กษัตริย ขอมทําใหพระกร ิ่งที่สรางขึ้นนี้ถูกเรียกว า”พระกริ่งปท ุมหร ือพระกริ่งพระปทุม” เมื่อสรางเสร็จแลวไดประจุไวตามกรุปราสาทเทวสถานเพื่ออุทิศเป นเครื่องประกาศพระศาสนาสวนหนึ่งอีกส วนหนึ่งประทานแกพระราชบ ุตรมหาอํามาตย ผู ใหญที่ใกลชิดสวนส ุดทายประทานใหแกทหารพระกร ิ่งปทุมนี้มีดวยก ัน3 ขนาดค ื
1.1 พระกริ่งขนาดใหญ (รูปท ี่ 12) มีพุทธลักษณะที่สําค ัญคือมีขนาดใหญสุดองค พระประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาดานหล ังของฐานพระเปนฐานเรียบไมมีกล ีบบัวหรือเครื่องหมายอื่นๆพระพักตรเร ียวยาวคลายร ูปไขพระเนตรน ูนเดนมองลงต่ําอยางสํารวมพระศอคลองลูกประค ําพระองคเพรียวบางพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาทรงเครื่องทรงอยางนักบวชภายในองคพระบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งไวดานใน1.2 พระกร ิ่งขนาดกลาง (รูปที่ 13) บางครั้งเรียกก ันวา “กริ่งอุบาเก ็ง” พุทธล ักษณะคลายพระกร ิ่งขนาดใหญ แต พระพักตร และพระเนตรมักทําเป นแบบจีนคือพระพั กตรคอนข างกลมและพระเนตรเปนเสนตรงปลายเฉียงขึ้นพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระหรือหมอน ้ํามนตประทับบนฐานบัวที่มีลายกล ีบบัวอยูดานหน า 7 คูเชนเด ียวกับกับพระกร ิ่งขนาดใหญแตฐานด านหลังแอนเป นรองลึกมากกวา1.3 พระกริ่งขนาดเล็กพบเปนจํานวนนอยที่สุดและม ีขนาดเล ็กที่สุดของพระกริ่งปทุมพุทธล ักษณะโดยรวมคลายคลึงกับพระกริ่งขนาดใหญ และฐานองคพระด านหลังไมเปนรองลึกเชนพระกริ่งอุบาเก ็งจากพุทธลักษณะของพระกริ่งปทุมทั้ง 3 ขนาดพบวามีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งทิเบตเชนการท ําพระพักตรกลมพระเนตรนูนมองลงต่ําพระหัตถซายถ ือวัชระขณะเด ียวกันชางก ็นํารูปแบบทางศิลปกรรมจากจีนมาผสมผสานดวยเชนล ักษณะของพระเนตรของพระกริ่งปทุมขนาดกลางที่ทําปลายเฉียงขึ้นดังน ั้นเราอาจกลาวไดว าพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพูชานาจะไดรับอิทธ ิพลในการสรางพระกริ่งจากจีนหรืออาจหลอข ึ้นในประเทศจีนแลวนําเขาประเทศกัมพูชาซึ่งกรมพระยาดํารงราชานุภาพได ทรงแสดงความคิดเห็นไวในหนังสือความทรงจําวา45″พระกร ิ่งเห็นจะเปนของหลอในเมืองจีนแล วสงมายังกรุงก ัมพูชาสม ัยกําลังรุงเรือง”2. พระกริ่งหนาตั๊กแตน (รูปที่ 14) สาเหตุที่เรียกว าพระกริ่งหนาตั๊กแตนนั้นเนื่องจากลักษณะของพระพักตรคลายต ั๊กแตนกลาวกันวาพระกริ่งประเภทนี้สรางขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณตอนพระนารายณปราบอสูรตรีบุรํามีการสล ักสัญลักษณรูปโอมไว ใตฐานพระพุทธล ักษณะของพระกริ่งหนาตั๊กแตนนี้ทําเปนประติมากรรมนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานที่มีตุมกลมๆคล ายฐานบัวทางดานหนาสวนด านหลังของฐานพระทําเปนกลีบบัวรูปสามเหลี่ยมซอนก ัน 2 ชั้นพระเศ ียรใหญ พระเกศาท ําเปนปมขนาดใหญพระศอสั้นม ีลูกประค ําขนาดใหญคลองไวพระเนตรโปนพระนาส ิกใหญพระห ัตถทั้งสองข างประสานกันไวเหนือพระเพลาจรดพวงลูกประคําพระห ัตถขวาถือดอกบัว (รูปท ี่ 15)
จากพุทธลักษณะของพระกริ่งหนาตั๊กแตนพบว าไมมีการร ักษาพุทธลักษณะในการสรางพระกริ่งที่มีมาต ั้งแตในอดีตเลยรูปแบบทางศ ิลปกรรมที่ปรากฏจะเห็ นวาไมมีความละเอียดอ อนและขาดความสวยงามเชนการท ําพระเนตรที่โปนพระโอษฐ กวางพระศอสั้นรวมถึงรูปแบบต างๆของพระกริ่งก็มีสร างใหตางไปจากท ี่เคยม ีมาในประเทศจีนและประเทศทิเบตเชนลักษณะของการวางพระหัตถที่แสดงปางสมาธิแทนปางมารวิชัยหร ือวัตถุที่อย ูในพระหัตถซายท ี่มักเปนวัชระก็เปลี่ยนเปนถือดอกบัวในพระหัตถขวารวมถึงลักษณะของฐานบัวที่เดิมมักทําเป นฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูก็เปลี่ยนเปนบัวตูมกลมท ี่มีลักษณะเป นตุมหร ือเปนฐานเกลี้ยงดังน ั้นพระกริ่งหนาตั๊กแตนนี้อาจเปนของที่ชางพ ื้นเมืองชาวเขมรสรางขึ้นตามความเชื่อในศาสนาพราหมณมีการเปลี่ยนแปลงร ูปแบบใหมีลักษณะเฉพาะจึงไม ไดรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งแบบเดิมไวจึงอาจกลาวไดวาพระกร ิ่งที่เคยสรางขึ้นในประเทศกัมพูชากอนการสรางพระกริ่งหนาตั๊กแตนอาจเป นของที่นําเข ามาจากประเทศจีนตามที่กรมพระยาด ํารงไดประทานความเห็นไวสวนด านความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งในประเทศกัมพูชาตามตํานานการสรางพระกริ่งไดกลาววาพระเจ าปทุมสุริยวงศ ไดโปรดใหสรางพระไภษัชยคุรุฯขนาดเล ็กที่เรียกว าพระกริ่งขึ้นโดยสังฆมณฑลฝายมนตรยานและอาถรรพเวทของมหาไวโรจนาภิสัมโพธิวิกุรว ิตาธิษฐานพระกริ่งที่สร างขึ้นนี้เชื่อก ันวามีจตุรอาถรรพณคือ461.ธรรมภาวะปูชาบูชาเพ ื่อความสงบสุขตามธรรมชาติใหรอดพนจากโรคภัยอุทกภ ัยอัคค ีภัยและราชภัยทั้งปวงรวมท ั้งภัยจากศ ัตรูสวนตัวของผูบูชานั้น2.ยศภาวะปูชาบูชาเพื่อความกาวหนาใหเลื่อนยศตําแหนงการงานใหเกิดผลในทางการคาขอบุตรธิดาเพิ่มความสุขสมบูรณใหยิ่งๆขึ้นกว าเดิม3.มารภาวะปูชาการบูชาแบบนี้เปนพิธีอาถรรพณสําหรับปราบศ ัตรูที่เป นภัยตอศาสนาเชนพวกฆาพระสงฆเผาวัดวาอารามทําลายน ักบวชเชนจั บพระสึกโดยไมสมควรแกเหตุ(บาปหนัก) เชนน ี้พระสูตรใหกระท ํากฤตยาคุณใหตายเปนการชวยมิใหผูนั้นประกอบความเลวยิ่งข ึ้นไปอีกมารภาวะปูชานี้จะกระทําไดตอเม ื่อมีเหตุผลสมบูรณไมเชนน ั้นแลวผูทํากฤตยาคุณว ิธีนี้จะเปนบาปหนักอาจารยจะไมมอบให ศิษยคนใดงายๆ4.เมตตาภาวะปูชาบูชาใหเกิดชื่อเส ียงเกียรติคุณให เปนที่เคารพรักใครของบุคคลเรียกวาเมตตามหานิยมน ั่นเองจากจตุรอาถรรพณในการสรางพระกริ่งทั้ง 4 ขอพบวาการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพูชาไดสรางขึ้นบนความเชื่อที่พระองคสามารถขจัดภัยอันตรายตางๆชวยให หายจากโรคภัยไขเจ็บและให เกิดความสุขความเจริญประสบแตสิ่งท ี่ดีเป นมงคลแกผูที่นับ
จากขอมูลทั้งหมดที่กลาวถ ึงพุทธลักษณะของพระกริ่งที่ปรากฏในประเทศตางๆทั้งทิเบตจีนและก ัมพูชาคงกลาวได วาด านรูปแบบการสรางพระกริ่งนั้นสวนใหญ ไดรั กษาพุทธลักษณะที่สําค ัญที่มีมาต ั้งแตเริ่มสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตเช นการประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวเฉพาะดานหนา 7 คูการแสดงปางมารวิชัยและการถ ือวัชระในพระหัตถซายและที่สําค ัญในองคพระมักใส เม็ดโลหะหรือที่เรียกวาลู กกริ่งไว เพื่อให เกิดเสียงด ังเมื่อเขยาองคพระแตอาจม ีพุทธล ักษณะที่แตกต างบางตามความคิดของชางในแต ละท องถิ่นเชนล ักษณะของพระเนตรลักษณะของพระพักตรลักษณะของจีวรเปนตนสวนความเช ื่อถือในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งนั้นจะเห็นวาเริ่มสรางพระกริ่งนั้นเกิดจากศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯที่ชวยรั กษาใหหายจากโรคภัยตางโดยการลูบที่องคพระแต การกระท ําดังกล าวทําให องคพระชํารุดจ ึงสรางพระกร ิ่งขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีกรรมในการรักษาอาการเจ ็บปวยของคนแทนการลูบที่องคพระดั งนั้นความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจึงย ึดตามอํานาจพ ุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯเป นสําค ัญคือชวยร ักษาใหหายจากโรครายจากน ั้นจึงมีความเช ื่อที่เกิดจากการเดินทางคาขายของพอคาชาวจีนโดยหวังใหอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่พกติดตั วขณะเดินทางชวยปองกันอันตรายซึ่งความเช ื่อดานการปองกันอันตรายน ี้ก็เป นอํานาจพุทธค ุณของพระไภษัชยคุรุฯเช นกันซึ่งถ ากลาวโดยรวมดานอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่พบในประเทศตางๆนั้นคงกลาวได วาเป นความเช ื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเชนเดียวกับอํานาจพุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯคือชวยให ผูเจ ็บปวยหายจากโรคภัยไขเจ็บและชวยปองกันอันตรายในขณะเดินทาง
บทที่ 4 รูปแบบและความเชื่อของพระกริ่งที่พบในประเทศไทยพระไภษัชยคุรุฯเปนพระพ ุทธรูปที่ประทับข ัดสมาธิบนพระห ัตถถือหมอน ้ํามนตหรือผลไมที่มีสรรพค ุณเปนยาเชนผลสมอซึ่งความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯคงเขาสูประเทศไทยชวงพุทธศตวรรษที่ 18 สม ัยกษัตริยชัยวรม ันที่ 7 ของอาณาจ ักรขอมซึ่งพระองค โปรดใหสรางอโรคยศาลาทั่วอาณาจักรของพระองคประมาณ 102 แห ง47ซึ่งอย ูในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่พบแลวในปจจุบัน 19 แห ง48และในอโรคยศาลาเหลานั้นมีพระไภษัชยคุรุฯประด ิษฐานอยูแมประต ิมากรรมพระไภษัชยค ุรุฯถูกเคล ื่อนยายออกจากศาสนะ-สถานหมดก็ตามแต หลักฐานที่เปนคํากล าวสรรเสริญพระไภษัชยคุรุฯและการบูชาพระไภษัชยคุรุฯกอนท ําพิธีการร ักษาผูที่เจ ็บปวยตามขอมูลที่ไดจากจารึกเชนจารึกดานประคําจารึกปราสาทตาเมือนโตดก็แสดงให เห็นถึงความเชื่อในการบ ูชาพระไภษัชยคุรุฯและการมีอยูจริงของรูปเคารพพระไภษัชยคุรุฯในอโรคยศาลาจากข อมูลขางตนเราจึงกลาวได วาการบ ูชาพระไภษั ชยคุรุฯในฐานะพระพุทธเจาแพทยผูปกป กรักษามนุษยใหหายจากโรคตางๆรวมทั้งปองกันภัยอันตรายคงเปนความเชื่อที่เขาส ูประเทศไทยในราวพุทธศตวรรษที่ 18 จากอิทธิพลของกษัตริยชั ยวรมันที่ 7 และก อนหนานั้นในประเทศไทยคงไมเคยมีความเชื่อในการบูชาพระไภษัชยคุรุฯอยูเลยแตในช วงเวลานี้เรายังไม พบจารึกที่กลาวถึงพระกริ่งเลยในสมัยสุโขทัยเราไมพบจารึกที่กลาวถึงพระไภษัชยคุรุฯแตเราพบประติมากรรมที่เปนพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบอยูในซุมเรือนแก วดานหล ังซุ มเรือนแก วมีใบเพกาประดับไวฐานทําเปนบัลลังกสี่เหล ี่ยมซอนกัน 3 ชั้นพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรปดสนิทมีวัตถ ุรูปกรวยอยูบนฝาพระห ัตถพระพุทธรูปเหลานี้อาจใชประดับอยูบนชั้นหลังคาของศาสนสถาน(บันแถลง) พุทธล ักษณะคลายพระพุทธร ูปขอมสมัยบายน (รูปท ี่ 16) แสดงให เห็นวาสมัยสุโขทัยชวงที่อิทธ ิพลขอมยังมีบทบาทอยูความเชื่อเกี่ยวกับพระไภษัชยค ุรุฯไดเขาสุโขท ัยด วยแตเม ื่ออาณาจักรสุโขท
สถาปนาและปกครองโดยคนไทยดานศาสนาก ็คงเก ิดการเปลี่ยนแปลงดวยเช นกันโดยคนไทยเหลานั้นคงหันมานับถือพ ุทธศาสนาฝายเถรวาทความเช ื่อในการนับถือพระไภษ ัชยคุรุฯที่เป นความเชื่อในพุทธศาสนาฝายมหายานก็ไดหายไปจากส ุโขทัยสวนหล ักฐานที่เกี่ยวกับพระกริ่งนั้นก็ยังไม พบหลักฐานที่กลาวถึงการสร างพระกริ่งขึ้นในสมัยสุโขทัยสมัยอยุธยาเราไมพบรูปเคารพหรือเอกสารที่กลาวถึงการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯอาจเปนเพราะความเชื่อที่ประชาชนสวนใหญ ในสม ัยนั้นน ับถือเป นพุทธศาสนาแบบเถรวาทสวนหล ักฐานที่เกี่ยวกับพระกริ่งนั้นเราพบวาตามประวัติ การสรางพระกริ่งในสมัยร ัตนโกสินทรกลาววาไดใชตําราการสรางพระกริ่งที่ไดรับสืบทอดมาจากพระพนรัตเจาอาวาสวัดปาแก วที่มีชีวิตอย ูในสมัยอยุธยา49มาเปนตนแบบซึ่งพระพนร ัตไดตําราการสร างพระกริ่งมาจากตําราการสรางพระกริ่งปทุมฯของขอมโดยทานได สรางพระกริ่งขึ้นแลวนําพระกร ิ่งที่สรางขึ้นนั้นติดไวที่พระมาลาเบี่ยงของสมเด ็จพระ-นเรศวรมหาราช50 (ปจจ ุบันพระมาลาเบี่ยงดังกลาวเก ็บรั กษาไวที่พระบรมมหาราชวังและไมสามารถเขาชมได ) แตจากภาพพระมาลาเบี่ยงที่แสดงลักษณะพระพุทธรูปที่ประดับไวบนพระมาลาเบี่ยงดังกลาวพบวาเปนพระพุทธรูปขนาดใหญ 1 องคอยูตรงกลางแสดงปางประทานอภัยดานข างเปนพระพุทธร ูปปางสมาธิอยูรอบจํานวน 16 องค โดยพระพ ุทธรูปดังกลาวเปนพระพุทธรูปสมัยลพบุรีอายุไมเกาไปกวาพ.ศ. 185051 (รูปท ี่ 17) ซึ่งพ ุทธลักษณะและขนาดของพระพุทธรูปที่ประดับบนพระมาลาเบี่ยงน ั้นไมใชพุ ทธลักษณะของพระกริ่งที่พระห ัตถมักแสดงปางมารวิชัยและประท ับบนฐานบัว52จากขอมูลดังกลาวจ ึงยังไมสามารถยืนยันไดวาในสม ัยอยุธยามีการสรางพระกริ่งขึ้นรวมถึงตําราการสร างพระกริ่งเราก็ไมพบหลักฐานที่ชัดเจนว ามีตํ าราดังกลาวอยู จริงในชวงต นของกรุงรัตนโกสินทรมีการกลาวถึงเรื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งอยูมากเชนขอม ูลของกรมพระยาดํารงราชานุภาพที่กลาวไวในหนังสือนิราศนครวัดวาในสมัยรัชกาลที่ 4 พระ-อมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศก ัมพูชาเมื่อทานเดินทางกลับพระมหาปรานไดมอบพระกริ่งกลับมาเพ ื่อใชปองก ันอันตรายขณะเดินทางและเมื่อทานกลับถึงกรุงเทพฯทานได มอบพระกร ิ่งดังกล าวใหพระยาอัพภันตริกามาตย 53พระกริ่งที่พบในชวง
ตนของกร ุงรัตนโกส ินทรนั้นนักว ิชาการทั่วไปเชื่อวาเปนพระกริ่งที่นําเข ามาจากประเทศกัมพูชาซึ่งกรมพระยาด ํารงราชานุภาพทรงเร ียกพระกริ่งเหลาน ั้นวาพระกริ่งพระเจาปทุมวงศ ซึ่งสร างขึ้นในสมัยพระเจาปทุมสุริยวงศ ตามแบบที่ชางจ ีนคิดขึ้นตามความเชื่อในฝายมหายาน54นอกจากนั้นศรีศักรวัลลิโภดมไดใหความเห็นวาพระกริ่งที่พบในประเทศไทยในชวงแรกคงเปนพระกริ่งที่พระกัมพูชานําติดตัวเพื่อใหอํานาจพ ุทธคุณป องกันอันตรายขณะเดินทาง55พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่พบในประเทศไทยชวงแรกมักทําเป นประติมากรรมลอยตัวขนาดเล็กความส ูงไมเกิน 2 นิ้วมี 2 ชน ิดโดยองคขนาดใหญมีสีดําสวนองค ที่มีสีเหล ืองจะมีขนาดเล็กกวาประทับน ั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวที่ทํากลีบบ ัวเฉพาะด านหนา 7 คูฐานด านหลังเรียบไมมีลวดลายพระพั กตรกลมเรียวแบบรูปไขคลายพระพ ักตรพระพุทธร ูปแบบจีนพระเนตรมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กครองจ ีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบชายจีวรม ักทําเป นตุมไขปลาพระหัตถ ขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายวางบนพระเพลาบนฝาพระหัตถมีหมอน ้ํามนตภายในองคพระมักมีเม็ดโลหะรูปกลมขนาดเล็กใสไว ดานในเม ื่อเขยาองคพระจะทําใหเกิดเสียงด ังกร ิ๊งกริ๊งจนกระทั่งพ.ศ. 2425 สมเด ็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทยโดย56โดยตามประว ัติกล าวว าพระองคไดใชตําราการสร างจากตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมฯที่พระองค ไดรับสืบทอดตอมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสดังน ั้นพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทยตามตําราสวนใหญมักกลาววามีพุทธล ักษณะใกลเคี ยงกับพุทธลักษณะของพระกริ่งพระปทุมฯแตมี การดัดแปลงใหมีลักษณะเฉพาะแสดงรูปแบบศิลปกรรมไทยมากขึ้นเชนการเพิ่มกล ีบบัวอีก 1 คูบริเวณดานหลังของฐานพระหรือลักษณะของพระเนตรที่เหลือบมองลงต่ําและหล ังจากที่พระมหาสมณเจากรม-พระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยอยางตอเนื่องจนถึงป จจุบันโดยพระกร ิ่งที่สรางขึ้นสวนใหญ เชื่อว ามีอํานาจพ ุทธคุณดานแคลวคลาดและปองกันภัยอันตรายบ ําบัดโรคตางๆ57ซึ่งอาจแบ งกลุมพระกร ิ่งที่พบในประเทศไทยตั้งแตเริ่มสรางจนถึงปจจุบันเปนกลุมใหญๆได
1.พระกริ่งกลุมวัดบวรน ิเวศวิหารสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดสรางพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกของประเทศไทยที่วั ดนี้ในพ.ศ. 2425 ซึ่งคงเก ิดจากความเชื่อถือในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่พบเห ็นจากเจานายชั้นสูงของชาวก ัมพูชาที่เขามาอย ูในกรุงเทพฯและบวชเรียนที่วัดบวรน ิเวศฯหรือการที่พระสงฆชาวก ัมพูชาพกพระกริ่งติดตัวเพื่อป องกันอันตรายขณะเดินทางซึ่งในตอนต นของกรุงรัตนโกส ินทรนั้นพระสงฆ ไทยกับพระสงฆ กัมพ ูชามีการเดินทางต ิดตอก ันอย ูเสมอและเมื่อสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณทรงศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งทานจ ึงคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางและหลังจากท ี่พระองคสรางพระกริ่งขึ้นแลวก็ ไดมีการสรางพระกริ่งขึ้นท ี่วัดน ี้และวัดอื่นๆสืบตอมาจนถ ึงปจจุบันพระกร ิ่งที่สําค ัญของวัดนี้เชน1.1 พระกร ิ่งปวเรศ (รูปที่ 18 ) เปนพระกร ิ่งแบบแรกที่สรางขึ้นในประเทศไทยที่วัดบวรนิเวศนนิเวศว ิหารที่เรียกว าพระกริ่งปวเรศนั้นเพราะสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศ-วริยาลงกรณเปนผูสรางขึ้นประวัติการสรางกลาววาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณซึ่งเป นเจาอาวาสวัดบวรน ิเวศนวิ หารในขณะนั้นทานไดสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นซึ่งถือเป นพระกริ่งท ี่สรางขึ้นเปนครั้งแรกของวัดบวรน ิเวศนฯและประเทศไทยเมื่อพ.ศ. 242558ซึ่งพระองค คงไดรับความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่ชวยปกป กรักษาใหมนุษยหายจากโรคร ายตางๆและสามารถปองกันอันตรายได โดยความเชื่อเหลานั้นอาจไดรับฟ งมาจากพระสงฆชาวกัมพูชาหรืออาจประสบกับตัวพระองคเองจึงเป นเหตุใหพระองคคิดสร างพระกริ่งขึ้นบางโดยตามประวัติกล าววาพระองคไดนําตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมของขอมมาเปนตนแบบทั้งด านรูปแบบขององคพระวัสด ุที่ใชและพิธีกรรมในการสราง59โดยตําราด ังกลาวเช ื่อกันวาทานไดรับมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสซึ่งรับสืบทอดกันมาจากพระพนรัตเจ าอาวาสว ัดปาแก วที่มีชีวิตอย ูในสมัยอยุธยาพระกริ่งปวเรศที่สรางขึ้นในรุนแรกนี้มีไม เกิน 30 องค60เพื่อถวายแดเจานายช ั้นสูงโดยเฉพาะหลังจากนั้นก็ไมมีการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นที่วั ดบวรนิเวศฯนี้อี กจนกระท
27วิเคราะห ประวัติการสร างสมัยตนกรุงรั ตนโกสินทรเราพบวาราชวงศจักร ีของไทยและราชวงศของกัมพูชามีความสัมพันธกันอย ูจากความสัมพันธดังกล าวเจานายชั้นสูงหรือพระสงฆ ชาวกัมพูชาคงไดนําความเช ื่อและองคพระกริ่งสูประเทศไทยเชนสม ัยรัชกาลที่ 4 พระอมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศก ัมพูชาและไดพระกร ิ่งกลับสูประเทศไทย62จากขอมูลดังกลาวแสดงใหเห็นถึงการติดตอสัมพ ันธกันระหว างไทยกับกัมพูชาและมีการนําองคพระกริ่งเขาสูประเทศไทยซึ่งความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งก็คงเขาสูประเทศไทยดวยดังน ั้นจึงมีความเปนไปไดที่พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณจะไดรับความเช ื่อและมีศรัทธาในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งและคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางในสวนตําราการสรางที่กลาวกันวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวร ิยาลงกรณทรงรับมาจากกรมพระปรมานุชิตชิโนรสและรับสืบทอดกันมาจากพระพนรัตเจาอาวาสวัดปาแก วซึ่งกลาวก ันวาทานไดรับสืบทอดกันมาจากประเทศกัมพูชาอีกต อหนึ่งแตเราไม สามารถหาหลักฐานการมีอยูของตําราดังกลาวได แตมีขอม ูลจากเอกสารซึ่งเกี่ยวกับการสรางพระกริ่งของวัดสุทัศน ฯกลาววาพระพนร ัตวั ดปาแก วไดสรางพระกริ่งตามตําราการสรางพระกริ่งของขอมแลวนําพระกร ิ่งที่สร างขึ้นนั้นติดไวที่พระมาลาเบี่ยงของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช63แตจากการตรวจสอบพุทธ-ลักษณะของพระพุทธรูปที่ติดอยูที่พระมาลาของสมเด็จพระนเรศวรนั้นไมใชพุทธล ักษณะพระกริ่งตามที่ไดกลาวมาแลวดังน ั้นขอม ูลที่กลาววาตําราการสรางพระกริ่งในสมัยร ัตนโกสินทรตอนตนเปนตําราการสรางพระกริ่งที่รับสืบทอดกันมาตั้งแตสมัยอยุธยาจึงยังไมสามารถยืนยันไดอยางชัดเจนนอกจากนั้นตามที่ไดกลาวไวแลวในบทที่ 3 เกี่ยวกับการสรางพระกริ่งในประเทศกัมพ ูชาวามีการจารึกเรื่องราวที่เก ี่ยวกับพระไภษัชยคุรุฯการสรางอโรคยศาลาการใช สมุนไพรตางๆในการรักษาโรคแตเราย ังไมพบจารึกที่กล าวถึงพระกริ่งเลยจึงอาจเป นไปไดวาไม มีตําราการสร างพระกริ่งแตถาหากม ีตําราด ังกลาวจริงก ็อาจชํารุดส ูญหายหมดแลวและจากการเปลี่ยนแปลงความเชื่อในการน ับถือศาสนาของชาวขอมจากศาสนาพุทธเปนศาสนาพราหมณมีการท ําลายรูปเคารพในพุทธศาสนาอาจมีการทําลายคัมภีรตางๆในพุทธศาสนาดวยในชวงกษัตริยชัยวรม ันที่ 864และเม ื่อพุทธศาสนาแบบเถรวาทเขาสูกัมพ ูชาการใชภาษาของชาวขอมก็ไดเปลี่ยนแปลงด วยจากภาษ
สันสกฤตท ี่นิยมใชในศาสนาพราหมณและพุทธศาสนาฝายมหายานมาเปนภาษาบาลีที่ใชกั นในศาสนาพุทธแบบเถรวาทโดยจาร ึกภาษาสันสกฤตไดสิ้นสุดลงจากอาณาจักรขอมในสมัยกษัตริยชัยวรรมาทิปรเมศวรที่ขึ้ นครองราชยในพ.ศ. 187065จากการสิ้นส ุดลงของภาษาสันสกฤตในประเทศกัมพูชาคงเปนเหต ุผลหนึ่งที่อาจทําใหตําราท ี่เกี่ยวกับพระกริ่งที่เปนภาษาสันสกฤต (เพราะพระกริ่งเปนพระที่สรางขึ้นในพุทธศาสนาฝายมหายาน) สูญหายหากต ํารานั้นมีอยูจริงหร ืออาจเนื่องจากตําราเหลาน ั้นใชวิธีถายทอดทางวาจาซึ่งเปนวิธีที่นิยมในเอเช ียตะวันออกเฉียงใตจึงไม พบจารึกเป นหลักฐานท ี่จะช วยยืนยันตําราดังกลาวแต การพบพระกร ิ่งในประเทศก ัมพูชาจึงเป นเครื่องยืนย ันวามีการสร างพระกริ่งในประเทศนี้เพียงแตไมสามารถยืนยันถึงการมีอยูของตําราในการสร างไดอยางชัดเจนสวนผ ูสรางพระกริ่งปวเรศนั้นสามารถระบุไดอยางชัดเจนวาสรางโดยพระมหาสมณ-เจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณเนื่องจากที่ฐานองคพระกริ่งปวเรศทุกองคมีจารึกอักษร”ปวร”ไวทุกองค ส วนปที่สร างที่ระบุวาป พ.ศ. 2425 ก็มีความเป นไปไดเพราะพระองคไดรับการเลื่อนพระยศเปนกรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณในพ.ศ.241666และทรงดํารงพระยศนี้อยูจนกระทั่งพระองคสิ้นพระชนม ในปพ.ศ. 243567พุทธล ักษณะกลาวกันวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณไดนําว ิธี การสรางและพุทธลักษณะของพระกริ่งปทุมมาเปนตนแบบ68โดยสรางเปนองคพระขนาดเล็กสูง 2 นิ้วพระองคมีสีเหลืองอ อนเพรียวบางไดสัดส วนแต งกายอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับพระศอไม คลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจีวรเรียบไมมีตุ มไขปลาพระหัตถ ขวาแสดง-ปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน ้ํามนตพระพั กตรรูปไข คลายพระพ ักตรพระพุ ทธรูปสมัยอูทองพระเนตรโปนมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย8 คู69 (ตามตําราการสรางพระกริ่งเดิมฐานบัวจะมีเฉพาะดานหนาเพียง 7 คู) โดยพระองคทานได เพิ่มบัวคว ่ําบัวหงายอีก 1 คูที่ดานหล ังของฐานพระ (รูปท ี่ 19) อาจเพ ื่อใหตางจากพระกร ิ่ง
29เปนตนแบบภายในองคพระมีการใสเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งซึ่งจารึกนามอดีตพุทธเจาไว70ซึ่งม ักใชโลหะชนิดเดียวกับที่ทําองค พระแตบางท านกลาวว าเดิมทีเดียวลูกกริ่ งของพระกริ่งปวเรศน ั้นทําดวยเหล็กไหลซึ่งถ ือกันวาเปนโลหะที่กอให เกิดความอยู ยงคงกะพ ันชาตรีผูอย ูในวงการพระเครื่องเชื่อวาพระกริ่งปวเรศมีการสรางขึ้น 2 ครั้งโดยครั้งแรกอ ุดฐานดวยทองแดงคร ั้งที่สองอุดฐานดวยทองเหลืองแตไมมีหล ักฐานยืนยันแนชัดแล วสลักอักษร“ปวร”ไวบนโลหะที่อุ ดฐานนั้นและม ีการสรางขึ้นไมเกิน 30 องคเพื่อถวายแดเจานายและใช ในพิธีการท ําน้ําศักดิ์สิทธ ิ์71วิเคราะห พุทธลักษณะจากประวัติ การสรางพระกริ่งปวเรศที่กลาววาพระมหาสมณ-เจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณได ใชตําราการสร างพระกริ่งพระปทุมมาเปนต นแบบและจากขอม ูลเกี่ยวกับพระกร ิ่งปทุมที่กลาวมาแลวในบทที่ 3 และจากหลักฐานทางเอกสารที่สมเด็จกรม-พระยาด ํารงราชานุภาพกลาวไว ในหนังสือน ิราศนครวัดวาพระกริ่งปทุมมี 2 อย างคือสีดําก ับสีเหลืองโดยส ีดําจะม ีขนาดใหญกวาและพบในเมืองไทยเรามากกวามีพระพักตรคล ายพระพุทธร ูปแบบจีนครองจ ีวรหมเฉียงเปดขอบชายจีวรมีตุมไข ปลา72แตพุทธล ักษณะของพระกริ่งปวเรศนั้นม ีพระพักตร ใกลเคียงก ับศิลปกรรมไทยแบบอูทองคือท ําพระเนตรโปนเหลือบลงต่ําครองจ ีวรหมเฉียงเป ดอังสาขวาไมมีตุมไข ปลาที่ขอบจีวรแสดงให เห็นวาพระกร ิ่งปวเรศน ี้ไมไดรับอ ิทธิพลหรืออาจตองการปฏิเสธรูปแบบจากลักษณะจีวรของจีนที่นิยมท ําตุมไขปลาที่ขอบจีวรสวนของที่ถือในพระหัตถซายเปล ี่ยนจากวัชระเปนหมอน้ํามนต (พระกริ่งจ ึงเปนพระที่ใชสําหรับท ําน้ํามนต)73องคพระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวซึ่งพ ุทธลักษณะของพระพุทธรูปที่ประทับบนฐานบัวนั้นเป นพุทธล ักษณะที่สําค ัญของพระพุทธรูปในแบบปาละของอินเดียแต เนื่องจากพระกริ่งเปนพระที่สรางขึ้นในความเช ื่อของพุทธศาสนาฝายมหายานซึ่งพ ุทธลักษณะที่สําค ัญคือการประทับข ัดสมาธิเพชรดังน ั้นการทําพระกร ิ่งที่มีพุทธลักษณะประท ับขัดสมาธิเพชรอาจไมไดเปนการรับอิทธิพลในศิลปะปาละแตเปนลักษณะเฉพาะของพระกริ่งส วนลักษณะของฐานบัวคว ่ําบัวหงายของพระกริ่งปวเรศก็มีลักษณะเฉพาะโดยเพิ่มที่ด านหลังอีก 1 คูและล ักษณะของกลีบบัวก็มีขนาดเล ็กและกลมมนซึ่งก ็ตางจากล ักษณะของกลีบบัวของฐานบัวคว่ําบัวหงายในศ ิลปะปาละของอินเดียที่ทําเป นกลีบบัวขนาดใหญและมีรอยหยักที่กล ีบบั
จากพุทธลักษณะของพระกริ่งปวเรศพบวามีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะหลายสวนจากลักษณะท ั่วไปของพระกริ่งใหแสดงความเปนพุทธศิลปะแบบไทยหรือมีความใกล เคี ยงกับศิลปกรรมไทยเชนล ักษณะของพระพักตรการครองจ ีวรนอกจากนั้นลักษณะที่สําค ัญของพระ-กริ่งปวเรศคือการเพิ่มกลีบบ ัวคว่ําบัวหงายท ี่ดานหล ังอีก 1 คูซึ่งพ ุทธลักษณะของพระกริ่งทั่วไปฐานบัวคว ่ําบัวหงายมักมี เพียงดานหนาอยางเดียวจํานวน 7 คูและจากความแตกตางเหลาน ี้เปนสิ่ งที่ทําให เราทราบวาพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ อาจไมไดใชพระกร ิ่งปทุมเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งปวเรศแตอาจใช พุทธล ักษณะของพระกริ่งปทุมเปนตัวกําหนดในเบื้องตนเพื่อเปนแนวทางในการสรางพระกริ่งใหถูกต องตําราจากนั้นจึงดัดแปลงแก ไขใหมีความเปนเอกลักษณของตัวเองมากข ึ้นแตการระบ ุวาการสร างพระกริ่งปวเรศไดนําต ําราการสรางพระกริ่งปทุมมาเปนต นแบบนั้นอาจเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณขององคพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมมิฉะน ั้นคนทั่วไปก ็คงยังนับถือองค พระกริ่งที่สรางขึ้นในกัมพูชาตามเดิมความเชื่อในอํานาจพุทธคุณเม ื่อพระกริ่งค ือพระไภษัชยคุรุฯที่ทําให มีขนาดเล ็กลงความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณจึงเหมือนกับกับพระไภษัชยคุรุฯอาจแตกตางไปบางตามวัตถุที่ถือในม ือแตอํานาจพ ุทธคุณหลักของพระกริ่งนั้นคือปกป กรักษาใหพนจากภ ัยอันตรายตางๆและชวยร ักษาใหหายจากโรครายซึ่งพระกร ิ่งปวเรศก็สรางขึ้นบนความเชื่อนี้เช นกันดังน ั้นอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งปวเรศนั้นจึงได รั บการยอมรับวามีอํานาจพ ุทธคุณดานบําบัดโรคภัยไขเจ ็บนานาชนิดคงกระพันชาตรีปองก ันโจรผูรายแคลวคลาดเมตตามหานิยม74ขณะเด ียวกันเมื่อพระหัตถซายของพระกริ่งปวเรศถือหมอน ้ํามนตจึงท ําใหมีอํานาจพ ุทธคุณในการทําน้ําพุทธมนตโดยการน ําพระกริ่งแชในน้ําเพื่อใหน้ําน ั้นเปนน้ําพุทธมนตในพระราชพ ิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวก็ใช พระกริ่งปวเรศนี้ทําน ้ําพุทธมนตที่ใชในพ ิธีมุรธาภ ิเษก75วิเคราะห ความเชื่อจะเห ็นวาความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งปวเรศนั้นส วนหนึ่งเปนความเช ื่อที่มาจากความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระไภษ ัชยคุรุฯเป นสําค ัญเชนความสามารถในการรักษาโรคตางๆปองก ันอันตรายและเม ื่อสรางพระกริ่งที่หมายถึงพระไภษัชยคุรุฯแตทําให มีขนาดเล ็กลงดังน ั้นความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณของพระกริ่งกับพระไภษัชยคุรุฯจึงใกลเคี ยงกันคือด านปกปกรักษาใหพนจากภัยอันตรายตางๆและชวยร ักษาใหหายจากโรครายซึ่งเป นความเชื่อท ี่เกิดขึ้นต ั้งแตเริ่มสรางพระกริ่งในประเทศทิเบต
สวนความเช ื่อในการน ําพระกริ่งปวเรศมาทําน้ําพระพุทธมนตเราพบขอมูลที่มีการกลาวถึงเรื่องราวด ังกลาวหลายคร ั้งเชนในตําราการสรางพระกริ่งของสังฆราชแพวาในขณะท ี่ทานดํารงพระยศเป นพระศรีสมโพธิ์ได เห็นพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรสเสด ็จมาเยี่ยมพระวันรัต(แดง) อาพาธเปนอหิวาตกโรคจากน ั้นไดนําพระกร ิ่งปวเรศมาแชน้ําแล วนําน้ํานั้นมาดื่มพระวันรัต(แดง)ก็หายจากอาการอาพาธแตขอม ูลในการใชพระกริ่งเพื่อทําน้ํามนตที่ชัดเจนท ี่สุดน ั้นคงเปนขอม ูลที่กลาวไวในจดหมายเหตุรายวันวาในสม ัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดใชพระกร ิ่งปวเรศท ําน้ําพุทธมนตใชในพ ิธีมุรธาภ ิเษกเพื่อใชในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาจากขอมูลดังกลาวก็เปนขอย ืนยันถึงความเชื่อในการใชพระกริ่งปวเรศเพื่อทําน้ํามนตสรุปแลวพระกริ่งปวเรศเปนพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนแบบแรกในประเทศไทยตั้งแตพ.ศ. 2425 ที่สร างโดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณซึ่ งพุทธลักษณะก็มีการด ัดแปลงใหมีความใกล เคียงก ับพุทธศิลปะแบบไทยสวนความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณนั้นเชื่อวาสามารถรักษาโรครายต างๆและชวยป องกันและขจั ดภัยอันตรายซึ่งเป นความเชื่อดังเดิมของพระกริ่งจนถึงป จจุบัน1.2พระกริ่งบัวรอบ (รูปที่ 20) พุทธล ักษณะโดยทั่วไปของพระกริ่งที่ประทับบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายจะม ีกลีบบัวเพียงดานหน าดานเดียว 7 คูแตพระกร ิ่งบัวรอบนั้นที่ฐานบัวมีกลีบบัวอยูรอบฐานทั้งดานหน าและด านหล ังทําใหพระกริ่งรุนน ี้ไดชื่อว าพระกริ่งบัวรอบประวัติการสรางกลาววาพระองคเจาภานุพันธยุคลเปนประธานในการสรางเมื่อว ันที่29 ตุลาคมพ.ศ. 248776ในวาระท ี่สมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศมีพระชนมาย ุครบ 72 พรรษาทําการหล อขนาดใหญประมาณ 300 องคขนาดเล็ก 100 องค77และหล ังจากที่มีการสรางพระกริ่งบัวรอบขึ้นก็มี การสรางพระกริ่งบัวรอบขึ้นอีกหลายรุ นที่วัดบวรน ิเวศนฯวิเคราะห ประวัติการสรางพระประวัติสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศนั้นทรงประสูติเมื่อพ.ศ. 241578ดังน ั้นพระองคจะมี พระชนมายุครบ 72 พรรษาในปพ.ศ. 2487 ซึ่งตรงกับขอมูลการสรางที่กลาววาพระองคเจาภานุพันธยุ คลเปนประธานในการสรางเพื่อฉลองเน ื่องในวาระสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศมีพระชนมายุครบ 72 พรรษาในปพ.ศ. 2487 จึงเป นเครื่องยืนยันวาพระกร ิ่งบัวรอบสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุ 72 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศจริงพ.ศ. 2487 จริง
สําหรับจ ํานวนที่สรางพระกริ่งบัวรอบนี้ไมมีหล ักฐานที่ชัดเจนท ี่สามารถระบุไดวาม ีการสรางขึ้นเทาไหรแตมีขอม ูลที่แตกตางระบุวาพระกร ิ่งบัวรอบสรางขึ้นเพียง 300 องคเทานั้น79สวนขอม ูลที่เกี่ยวกับการนําพุทธลักษณะของพระกริ่งแบบใดมาเปนตนแบบก็ไมพบขอมูลบันทึกไวแตนาจะใช พุทธลักษณะของพระกริ่งปวเรศมาปรับปรุงใหแสดงพ ุทธศิลปแบบไทยมากขึ้นดังน ั้นในสวนประว ัติการสร างพระกริ่งบัวรอบน ี้เราสามารถยืนยันขอม ูลดานอายุไดเพียงอย างเดี ยวพุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวสรางจากเน ื้อนวโลหะองคพระจะมีสีน้ําตาลแก เพรียวบางได สัดสวนแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจีวรเรียบไม มีตุมไข ปลาพระศอไมคลองลูกประคําพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวชิระพระพักตรคอนขางกลมแสดงลักษณะพระพ ักตร แบบพระพุทธรูปแบบไทยพระเนตรมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายสลับเล็กใหญ ซอนก ัน 2 ชั้นรอบฐานองคพระที่กนฐานพระปดดวยทองแดงท ําบุมเปนแองคล ายกนกะทะวิเคราะห พุทธลักษณะเราพบวาพุทธลักษณะของพระกริ่งบัวรอบน ี้ก็ยังรั กษาพุทธลักษณะท ี่สําค ัญของพระกริ่งไวเชนองค พระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระและมีเม็ดโลหะกลมขนาดเล็กอยูในองคพระการรักษาพ ุทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งไวแสดงว าพุทธลักษณะเฉพาะของพระกริ่งนั้นยังเปนรูปแบบท ี่ยึดถ ือสืบต อกันมาหรือการรักษาพุทธลักษณะแบบเดิมไวอาจเพื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่มีมาต ั้งแตอดีตขณะเดียวกันก็มีการปร ับปรุงใหพระกริ่งบัวรอบนี้เปนพุทธศ ิลปะแบบไทยมากขึ้นเชนล ักษณะพระพักตร หรือฐานบัวคว ่ําบัวหงายท ี่ทํากลี บบัวขนาดใหญสลับเล็กรอบฐานการเปลี่ยนแปลงด ังกลาวอาจต องการใหพระกริ่งบ ัวรอบนี้มีเอกลักษณ ของศิลปกรรมไทยมากขึ้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติการสร างพระกริ่งบัวรอบน ี้ไมมีการระบุ ไวอยางชัดเจนวามีอํานาจพ ุทธคุณเชนไรแตจากพ ุทธลักษณะสวนใหญยังคงร ักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งไวดังน ั้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งบัวรอบก็คงตั้งอยูบนความเชื่อเดิมที่เชื่อก ันมาตั้งแตอดีตวาชวยรักษาโรครายตางๆปองกันและขจ ัดภัยอันตรายสวนป จจุบันนี้ในวงการพระเครื่องเชื่อว าพระกริ่งบัวรอบม ีอํานาจพ ุทธคุณดานเมตตามหานิยมแคล วคลาดคงกระพันชาตรี8
วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจากประว ัติของพระกร ิ่งบัวรอบท ี่สรางขึ้นเพื่อเปนที่ระลึกในโอกาสฉลองพระชนมายุครบ 72 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวชิระ-ญาณวงศจํานวน 300 องค ซึ่งเราไมมีขอม ูลที่เปนเอกสารระบุถึงพ ิธีกรรมในการสรางรวมถึงอํานาจพุทธค ุณไวอยางชัดเจนตั้งแตเมื่อแรกสรางแตการคงร ูปแบบที่เปนพุทธลักษณะสําคัญของพระกริ่งไวก็นาจะเป นเหตุผลที่ทําให เราพิจารณาไดวาอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งบัวรอบน ี้คงเหมือนกับอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่สรางกันในอดีตสําหรับป จจุบันอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งบัวรอบน ี้เชื่อก ันวามีอํานาจพุทธค ุณดานเมตตามหานิยมแคลวคลาดคงกระพ ันชาตรีซึ่ งเปนความเชื่อที่เปลี่ยนจากอด ีตเชนความเชื่อในการปองกันและรักษาโรคภัยตางๆซึ่งพระกร ิ่งเปนพระที่ช วยรักษาโรครายต างๆไดหายไดอาจเน ื่องจากปจจุบันน ี้ความสามารถทางการแพทยในยุคปจจุบันน ี้ดีขึ้นการใชพระกริ่งเพื่อทําน้ํามนตใหผูปวยด ื่มกินโดยหว ังใหอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งทําใหผูปวยหายจากโรคนั้นๆจึงไมเปนที่นิยมสวนด านเมตตามหานิยมนับเปนความเช ื่อใหมในการบ ูชาพระกริ่งอาจเนื่องจากพระเครื่องที่สรางขึ้นในปจจุบันมักน ิยมใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานเมตตามหานิยมเปนสําค ัญพระกริ่งบ ัวรอบอาจรับอิทธิพลของความเชื่อดังกลาวไว ด วยสําหรับความเชื่อดานแคลวคลาดและคงกระพันชาตรีคงเปนความเชื่อที่เปนความเชื่อที่มีมาแต เดิมที่ยังคงไว คืออํานาจพ ุทธคุณในดานปองกันอันตรายต างๆ1.3 พระกร ิ่งไพรีพินาศ (รูปท ี่ 21) ตามประวัติของพระไพร ีพินาศนั้นสมเด็จกรม-พระยาด ํารงราชานุภาพกลาวว าเปนพระพ ุทธรูปแบบมหายานประท ับบนฐานบัวคว่ําบัวหงายพระหัตถ ขวาแสดงปางประทานอภัย81ดังน ั้นพระกริ่งที่ไดชื่ อวาพระกริ่งไพรีพินาศจ ึงมีพุทธล ักษณะที่สําค ัญคลายพระไพรีพินาศด วยคือพระห ัตถขวาแสดงปางประทานอภัยประวัติการสรางพระไพร ีเครื่องพินาศและพระกริ่งไพรีพินาศม ีการสรางขึ้นเปนครั้งแรกพรอมก ันในพ.ศ. 249682ในงานฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษาของสมเด็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศโดยม ีการสรางขึ้น 2 พิมพ คือพ ิมพบัวเหล ี่ยมและพิมพ บัวแหลมซึ่งพ ุทธ-ลักษณะของพระกริ่งไพรีพิ นาศกับพระเครื่ องไพรีพินาศท ี่สรางขึ้นในรุนแรกนี้มีความคล ายกันมากตางก ันที่พระกริ่งไพรีพินาศน ั้นจะมีการพิมพอักษร”ไพร ีพินาศ”ไว ที่ดานหล ังของฐานพระทุกองค
34วิเคราะห ประวัติการสร างสมเด ็จพระสังฆราชเจากรมหลวงวช ิระญาณวงศทรงประสูติเมื่อพ.ศ. 241583ดังน ั้นพระองคจะมีพระชนมายุครบ 80 พรรษาในปพ.ศ. 2495 และประวัติการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่วาสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุครบ 80 พรรษาของพระองคทานดังน ั้นปที่สร างที่ถูกต องจึงนาจะเปนปพ.ศ. 2495 สวนกรณ ีที่กลาววาพระกริ่งไพรีพินาศสร างขึ้นเพื่อฉลองพระชนมายุของสมเด็จพระส ังฆราชเจากรมหลวงวชิระญาณวงศ ก็มีความเปนไปไดเพราะพระกริ่งไพรีพินาศนั้นก็เปนพระท ี่สรางขึ้นที่วัดว ัดบวรนิเวศนฯนี้และในพ.ศ. 2495 นั้นเป นชวงเวลาท ี่พระองค ทานเป นเจาอาวาสครองวัดบวรน ิเวศนฯ (ทานครองว ัดบวรน ิเวศนฯระหวางพ.ศ. 2464 – พ.ศ. 2501) 84พุทธลักษณะเป นประติมากรรมลอยตัวสรางจากทองคําผสมทองเหลืององคพระมีสีทองพระองคเพรียวบางได สั ดสวนไมมีกลามเนื้อแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับพระศอไมคลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาที่ ขอบจีวรเรียบไม มีตุมไข ปลาชายส ังฆาฏิสั้นพาดไวเหนือพระอังสาซายพระหัตถขวาแสดงปางประทานอภัยคือคลายปางมารวิชัยแต หงายฝาพระห ัตถออกพระหัตถซายวางไว เหนือพระเพลาไมมีหมอน ้ํามนตหรือวัชระบนฝ าพระหัตถพระพักตรคอนขางกลมแบบพระพุทธรูปไทยประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายรอบฐานองคพระพระกร ิ่งไพรีพิ นาศนี้มี 2 พิมพ แบงแยกโดยฐานบัวคือฐานแบบบัวแหลม (รูปท ี่ 21) และฐานแบบบ ัวเหลี่ยม (รูปท ี่ 22) ดานหล ังฐานพระมีอั กษรคําวา”ไพรีพินาศ”จารึกไว ทุกองค วิเคราะหพุทธลักษณะจากขอมูลที่ระบุวาการสร างพระกริ่งไพรีพิ นาศนั้นกําหนดให พระกริ่งทุกองค บริเวณด านหล ังฐานพระตองมีอักษรค ําวา”ไพรีพินาศ”จารึกไว (รูปท ี่ 23) จึงเป นสิ่งท ี่ชวยให เราพ ิจารณาไดง ายขึ้นว าพระองค ใดเปนพระกร ิ่งไพรีพินาศสวนพุทธล ักษณะของพระไพรีพินาศที่ทําเป นพระพุทธรูปประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายพระพักตรคอนข างกลมพระองค เพรียวไดสัดส วนครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาชายส ังฆาฎิสั้นเหน ือพระอังสาซ ายพระห ัตถขวาแสดงปางประทานอภัยคือคลายปางมารวิชัยแต หงายฝาพระห ัตถออกพระห ัตถซายวางไว บนพระเพลา (รูปท ี่ 24) จากพุทธลักษณะดังกลาวโดยรวมพบวาพระกริ่งไพรีพินาศย ังมีพุทธล ักษณะคลายกับพุทธลักษณะของพระกริ่งทั่วไปเชนการประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงายหรือการใสเม็ดโลหะขนาดเล็กไวในองคพระขณะเดียวกันก็มีการปร ับใหมีพุทธล ักษณะแบบไทยมากขึ้นเชนล ักษณะพระเกต ุมาลาเปนเปลวเพลิงพระเกศาขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กคลายพุทธล ักษณะพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยสวนล ักษณะของพระพักตรที่ค อนขางกลมและชายสังฆาฏิสั้นพาดไว เหนือพระอ ุระดานซายก็คลายก ับพุทธลักษณะ
ของพระพุทธรูปแบบเชียงแสนจากพ ุทธลักษณะดังกลาวแสดงใหเห็นแนวความคิดในการสรางพระกริ่งไพรีพิ นาศวาตองการใหแสดงออกในพุทธศิลปะแบบไทยมากขึ้นนอกจากน ั้นยังไดนําเอาพุทธล ักษณะของพระไพรีพินาศมาผสมเชนพระหัตถขวาที่แสดงปางประทานอภัยและการที่บนพระหัตถซายซ ึ่งวางไวเหนือพระเพลาไมมีหมอน้ํามนตหรือวัชระซึ่งเป นสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งและพระไภษ ัชยคุรุฯบนฝาพระห ัตถอาจเป นแนวคิดที่ตองการแสดงพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระไพรีพินาศให ปรากฏอยางชัดเจนมากกวาแสดงพุทธลักษณะของพระไภษัชยคุรุฯดังนั้นการสรางพระกร ิ่งไพรีพินาศท ี่นําพ ุทธลักษณะพระไพรีพินาศมาเป นตนแบบในการสรางผสมผสานกับพุทธศิลปะแบบไทยเปนการแสดงให เห็นถึงการกําหนดรูปแบบในการสรางพระกริ่งที่วั ดบวรนิเวศนฯนี้ไดเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นคือไมยึดติ ดรูปแบบเดิมของพระกริ่งที่ปรากฏตามตําราที่เปนหลักการสรางพระกร ิ่งในอดีตแตเม ื่อภายในองค พระย ังบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูภายในและเม ื่อเขยาแล วเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่ งเปนสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งและเป นพุทธล ักษณะที่เปนจุดมุงหมายท ี่สําค ัญในการสร างพระกริ่งตั้งแตเริ่มแรกในทิเบตที่วาพระกริ่งต องเขยาแลวเก ิดเสียงจากการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้เองอาจเปนการนําไปสูการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการสรางพระกริ่งในชั้นหลังในประเทศไทยวาพระกร ิ่งที่สรางขึ้นไมวาจะม ีพุทธลักษณะแบบใดมีการแสดงส ัญลักษณที่สําค ัญของพระกริ่ง (การประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวและการถือวัชระหรือหมอน ้ํามนตบนฝาพระห ัตถซาย) หรือไมก็ไม ใชสิ่งส ําคัญแตภายในองคพระยังมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูเพื่อใหเมื่อเขยาองคพระแลวเก ิดเสียงเราก ็ยังเรียกพระท ี่สรางขึ้นเหลานั้นวาพระกริ่งแต ความเชื่อนี้คงไมเปนที่นิ ยมมากน ักเพราะเห็นไดจากการสรางพระกริ่งที่พบในปจจุบันปริมาณพระกร ิ่งที่สรางขึ้นโดยยึดรูปแบบเดิมมีปริมาณการสร างมากกวาสวนพระกร ิ่งที่มีพุทธ-ลักษณะท ี่ต างออกไปไมเปนที่นิยมในการสรางความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติ ของพระไพรีพินาศกล าววามีผูนําพระพ ุทธรูปมาถวายพระจอมเกลาเจาอยูหัวในชวงเวลาใกลเคียงก ับหม อมไกรสรถูกสําเร็จโทษพระองคจึงพระราชทานนามพระพุทธรูปองคนั้นว า”พระไพรีพินาศ”มีอํานาจพ ุทธคุณชวยใหศัตรูแพ พาย85ดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งไพรีพิ นาศจึงเก ิดจากการรวมความเชื่อระหวางพระไภษัชยคุรุฯและพระไพรีพินาศไว ดวยก ันคือปองก ันศัตรูซึ่งเป นความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระไพร ีพินาศรวมกับความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระไภษัชยคุรุฯในเรื่องการปองกันอันตรายแคลวคลาดและคงกระพันชาตรี
วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจะเห็นว าพุทธลักษณะของพระกริ่งไพรีพินาศม ีความใกลเคี ยงก ับพระไพรีพินาศมากกวาพระไภษัชยคุรุฯดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งไพรี-พินาศจ ึงคลายอํานาจพุทธคุณของพระไพรีพินาศในเร ื่องการปองกันศัตรูสวนความเช ื่อเดิมเรื่องชวยขจ ัดโรคภัยหรือชวยร ักษาอาการเจ็บปวยของพระกริ่งก็ไม ไดเปนความเช ื่อที่สําค ัญของพระกริ่งที่สร างในสมัยหลังรวมถึงพระกริ่งไพรีพิ นาศนี้ดวยอาจเนื่องจากความรูทางการแพทยในประเทศไทยไดพัฒนาข ึ้นและไมมีผู ใดนําพระกริ่งไปแช น้ําเพ ื่อทําน้ํามนตในการรักษาโรคอีกดังน ั้นหากพระกริ่งยังคงตั้งอยูบนความเชื่อเดิมอาจทําให ไมมีผูบูชาพระกร ิ่งจึงเก ิดความคิดในการนํารูปแบบอื่นมาผสมผสานเพื่อใหเกิดศรัทธาในอํานาจพุทธคุณที่มากข ึ้นเชนการสร างพระกริ่งไพรีพินาศท ี่นํารูปแบบของพระไพรีพินาศมาผสมผสานเพื่อใหเกิดอํานาจพุทธคุณดานปองกันและขจัดศัตรูเพ ิ่มขึ้นจากตัวอยางที่กลาวมาขางตนเราจึงพอสรุปไดวาจุ ดเริ่ มตนในการสรางพระกริ่งที่วัดน ี้คือการท ี่พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ไดสรางพระกริ่งปวเรศโดยม ีพุทธล ักษณะเหมือนพ ุทธลักษณะของพระกริ่งโดยทั่วไปที่สรางในประเทศตางๆแตขณะเด ียวกันก็มีการผสมผสานลักษณะพ ุทธศิลปะแบบแบบไทยไวดวยเชนล ักษณะของพระพักตรรูปไข พระเนตรโปนเหลือบลงต่ําซึ่งพ ุทธลักษณะพระกร ิ่งแบบเดิมมักทําพระเนตรเล็กเรียวคลายพระพุทธรูปแบบจีนลักษณะการครองจีวรก็เปนแบบไทยมากขึ้นเชนการไมทําต ุมไขปลาที่ขอบจีวรและหลังจากการสรางพระกริ่งปวเรศขึ้นที่วั ดนี้ก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นอี กหลายรุนโดยม ีการนําพุทธศิลปะแบบไทยมาผสมผสานเชนการทํากลี บบัวแบบไทยในพระกริ่งบัวรอบจนถึงการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่ปฏิเสธร ูปแบบที่เปนพุทธลักษณะของพระกริ่งเกือบทั้งหมดแสดงให เห็นวาการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดบวรน ิเวศนฯนี้คงม ีความตองการใหพระกร ิ่งแสดงความงามตามพุทธศิลปะแบบไทยใหมากกวาการยึดในรูปแบบตามที่สรางกันมาแตเดิม2. พระกริ่งกลุมวัดสุทัศน เทพวรารามพระกริ่งที่สรางที่วัดนี้ไดรับความน ิยมในวงการพระเครื่องและม ีความเชื่อถือในอํานาจพุทธค ุณมากเน ื่องจากมีการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้อยางตอเนื่องจนถ ึงปจจุบันเป นเวลานานกวา100 ปและม ีเอกสารตําราประวัติการสร างแตละครั้งระบุไว อยางชัดเจนโดยจุดเริ่ มตนของการสรางพระกริ่งที่วั ดนี้กลาววาเกิดจากการที่สมเด็จพระสังฆราช(แพติสฺสฺเทว) ขณะน ั้นดํารงตําแหนงเปนพระศรีสมโพธ ิ์ทานได ทรงเห็นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่ชวยให พระวันรัต(แดง)พระอุปชฌาย ของพระองคที่อาพาธเป นอหิวาตกโรคใหหายจากอาการอาพาธโดยสมเด็จพระวชิรญาณวโรรสไดรับสั่งให นําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ําพุทธมนตแลวอธ ิฐานขอใหหายจากโรคเมื่อพระวั นรัตฉันท น้ําพ ุทธมนตแลวอาการก ็ทุเลาลงจนหายเปนปกติ87ทําให พระศรี สมโพธิ์เกิดความเลื่
อํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งจึงท ําการศึกษาและค นควาเรื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งรวมถึงต ําราตางๆในการสรางพระกริ่งทั้งด านรูปแบบพิธีกรรมและโลหะที่ใชสร างโดยนําตําราการสรางพระกริ่งมาจากทานเจาคุณมงคลทิพยเจาอาวาสวัดพระเชตุพนฯในพ.ศ. 243288จากน ั้นทานไดเริ่มสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดส ุทัศน รุนแรกในพ.ศ. 2441 และสรางตอเนื่องกันมาตลอดทุกปโดยมีจํานวนสรางตามกําลังว ันที่ทําพ ิธีซึ่งม ักใชวันเพ ็ญเดือน 1289พระกริ่งท ี่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) สรางขึ้นมีทั้งสิ้นประมาณ 1,500 องค90พระกริ่ งที่สําค ัญที่สรางขึ้นที่วัดน ี้เชน2.1 พระกริ่งสมเด็จพระสังฆราช(แพ) รุนเทพโมลี (รู ปที่ 25) เปนพระกริ่งที่สังฆราช(แพ) สรางขึ้นเปนรุนแรกและที่ถูกเร ียกวารุนเทพโมล ีเพราะพระยศของทานขณะสร างนั้นทรงดํารงพระยศเป นพระเทพโมล ีประวัติการสรางตามท ี่กลาวมาแล ววาหลังจากที่สมเด็จพระสังฆราช (แพติสฺสฺเทว) ไดเห็นอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งในการรักษาพระวันรัต(แดง) พระอ ุปชฌาย ของพระองคใหหายจากอาการอาพาธทานจ ึงไดศึกษาเร ื่องราวเกี่ ยวกับพระกริ่งและไดรับต ําราในการสรางพระกริ่งซึ่งเชื่อก ันวาตํารานี้ตกทอดกันมาจากพระพนรัตวัดปาแก วจากนั้นในพ.ศ. 2441 ทานได เปนเจาอาวาสวัดสุทัศน ฯพรอมกับไดรับพระราชทานยศเปนพระเทพโมลี91จึงเริ่มม ีการสรางพระกริ่งของวัดสุทัศนเทพวรารามขึ้นเปนครั้งแรก92เรียกวา”พระกริ่งรุนเทพโมล ี”โดยใชตําราพิธีกรรมและชนิดโลหะตามที่มีมาแตโบราณการสรางพระกริ่งเทพโมลีขึ้นท ี่วัดส ุทัศน เทพวรารามนี้มีการสร างเพียง 9 องคเทานั้นและพระกร ิ่งทุกองคที่สร างขึ้นจะมีตั วเลขลําด ับกํากับไวที่ฐานขององคพระทุกองค (รูปท ี่ 26) วิเคราะหดานประวัติการสร างตามท ี่ไดกลาวมาแลวในเร ื่องของตําราที่ใชในการสร างพระกริ่งวาเรายังไมสามารถหาหลักฐานมายืนยันขอม ูลดังกลาวได อยางชัดเจนดังการสร างพระกริ่งของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ที่กล าวว าไดรับต ําราการสรางพระกริ่งมาจากพระพุฒาจารย (มา) วัดจ ักรวรรดิ์ราชาวาสซึ่งรับส ืบทอดกันมาจากพระพนรัตวัดปาแก วในสมัยอยุธยาคงเปนขอม ูลที่ยังไม สามารถระบุไดอยางชัดเจนวามีตําราในการสร างจริงแตถาเราด ูตามรูปแบบขององคพระกริ่งรุนเทพโมลีที่สมเด ็จพระสังฆราช(แพ)สรางขึ้นนี้พบวามีพุทธล ักษณะที่ตางก ันกับพระกริ่งปวเรศซึ่งหากม ีตําราในการสร างที่แนนอนและมีการสืบทอดตําราก ันมาจริงรูปแบบขององคพระก็นาจะ
เหมือนก ันหรือมีความใกลเคียงกันดังน ั้นหากจะสรุปเกี่ยวกับตําราการสรางพระกริ่งที่มีการกล าวอางก ันอยูเสมอวารับส ืบทอดกันมาต ั้งแต สมัยอยุธยาจากพระพนรัตคงเปนเรื่องท ี่กลาวอางก ันขึ้ นมาเพื่อใหพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมนี้เก ิดความน าเชื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเทาเทียมกับพระกริ่งที่เคยสรางในอดีตจากค ํากลาวอ างที่วาเป นการสรางตามพิธีกรรมและว ัสดุที่มีมาแต เดิมนั้นเองสวนข อมูลที่กลาววาสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ได สรางพระกริ่งรุนเทพโมล ีขึ้นเป นครั้งแรกในพ.ศ. 2441 นั้นคงเปนขอม ูลที่ยืนย ันไดเพราะตามประวัติ ของทานไดรับพระราชทานยศเปนพระเทพโมลีเมื่อพ.ศ. 244193และพระกร ิ่งเทพโมลีก็คงเปนพระกริ่งที่ทานสร างขึ้นเปนครั้งแรกและนาจะหลังจากท ี่ทานได เปนเจาอาวาสครองว ัดสุทัศน แลวนั้ นเองแตพระกร ิ่งรุนเทพโมล ีนี้อาจไมใชพระกร ิ่งรุนแรกของวัดสุทัศน เพราะได พบพระกริ่งอยูในบาตรเกาเก็บไวบนหลังคาศาลาการเปรียญในพ.ศ. 2482 แตไม สามรถระบุผู สรางได94 (รูปท ี่ 27) สวนเรื่องจ ํานวนในการสรางที่กลาววาพระกริ่งรุนเทพโมลีนี้มีการสร างขึ้นเพียง 9 องคเทานั้นเนื่องจากที่ใตฐานพระกร ิ่งทุกองคที่สรางขึ้นในรุนนี้จะมีตั วเลขกํากับไวจึงเป นหลักฐานที่ชั ดเจนที่ช วยยืนยันไดถึงจ ํานวนที่สรางพุทธลักษณะพุทธล ักษณะที่สําค ัญของพระกริ่งรุนเทพโมล ีคือเป นประติมากรรมลอยตัวสรางจากนวโลหะสีดําสูงจากฐานถ ึงยอดประมาณ 4 ซ.ม. ประทับนั่งขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงาย 7 คูฐานดานหลังเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเหลือบมองลงต่ําพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนก ัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารั ศมีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับที่พระศอไมคลองลูกประค ําครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาที่ขอบชายจีวรทําเปนตุมคลายไขปลาเหมื อนที่พบในพระกริ่งใหญของจ ีนในองคพระบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งซ ึ่งสรางจากเนื้อนวโลหะพรอมปลุกเสกเช นเดียวกับโลหะที่นํามาสร างองคพระจากนั้นอุดฐานด วยโลหะชนิดเดียวกับที่ทําองค พระแลวจารึกเลขไทยบอกลําดับไวตั้งแต 1 – 9 ซึ่งเป นจํานวนที่สรางพระกริ่งรุนเทพโมล ีนี้ขึ้นวิเคราะหพุทธลักษณะตามประว ัติการสร างพระกริ่งรุนเทพโมล ีนี้กล าววาไดตําราการสรางมาจากพระพนรัตวัดป าแกวนับเป นตําราเดียวกับตําราการสรางพระกริ่งปวเรศซึ่งในส วนของตําราการสร างนั้นไดกลาวไปแลวในตอนตนวาไมสามารถระบุไดชัดเจนว ามีตําราด ังกลาวจร ิงขณะเดียวกันพุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีนี้มีพุทธล ักษณะที่ตางจากพระกร ิ่งปวเรศหลายประการแสดงใหเห็นวาไมไดยึดร ูปแบบการสรางตามตําราเดียวกันแตพุทธล ักษณะของพระกริ่งเทพโมลีนี้แสดงใหเห็นการผสมผสานรูปแบบของการสรางพระกริ่งที่เคยปรากฏในประเทศตางๆเริ่มจากการทํากลีบบัวคว่ําบัวหงายบร ิเวณดานหนา 7 คูสวนดานหลังเปนฐานเรียบเชนเดียวกับ
ลักษณะฐานบ ัวคว่ําบัวหงายของงพระกริ่งที่เคยสรางในประเทศจีนทิเบตและก ัมพูชาแตกล ีบบัวมีความเปนเหลี่ยมมากกวาลักษณะพระพ ักตรคอนข างกลมคลายพระพักตรของพระกริ่งบาเก็งที่พบในประเทศกัมพูชา (รูปท ี่ 13) บนพระหัตถซายทรงถ ือวัชระเป นอิทธ ิพลที่นาจะได รับมาจากทิเบตหร ือจีนที่นิยมสร างพระกริ่งโดยที่บนพระห ัตถซายถ ือวัชระขณะที่พระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศกัมพูชาในพระหัตถซายน ิยมถือหมอน ้ํามนตที่ขอบชายจ ีวรทําเป นตุมคลายไขปลาเหมือนลักษณะพระกริ่งของทิเบตและจีนเปนตนดังนั้นจากพุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีดังกลาวที่มีความคล ายกับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นในประเทศตางๆเชนประเทศทิเบตประเทศจีนและประเทศกัมพูชาแสดงใหเห็นวาสมเด็จพระสังฆราช (แพ) คงท ําการศึกษารูปแบบในการสรางพระกริ่งจากพุทธลักษณะของพระกริ่งในประเทศตางๆเหลานั้นแลวนํามาเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งเทพโมลีนี้ทําให พระกร ิ่งที่พระองคสรางขึ้นนี้มีพุทธล ักษณะที่เกิดจากการผสมผสานรูปแบบของพระกริ่งที่เราพบในประเทศตางๆเหลานั้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามประวัติการสร างพระกริ่งเทพโมลีนี้มีการสร างขึ้นจํานวน 9 องค เพื่อแจกจายแกเจ านายคนสนิทเทานั้นซึ่งคงสร างขึ้นเพื่อใหคนเหลานั้นใชเปนเครื่องรางสําหรับพกต ิดตั วเพื่อปองกันภัยอันตรายแมไม มีการระบุไว อยางแนชัดของอ ํานาจพุทธค ุณของพระกริ่งเทพโมลีแตในป จจุบันเชื่อวาพระกร ิ่งรุนน ี้มีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติเมตตามหานิยมและดลบันดาลใหผูบ ูชาประสบแตความสุขความเจริญ95วิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณการท ี่พระกริ่งรุนน ี้สรางขึ้นเพียง 9 องค อาจเปนการทดลองสรางพระกริ่งขึ้นหลังจากท ี่ไดศึกษาคนคว ามานานและเพื่อทดสอบว าพระกริ่งที่สรางขึ้นมีอํานาจพ ุทธคุณเปนที่ศรัทธาเท ากับพระกริ่งในอดีตหรือไมแตความเช ื่อในการรักษาผูเจ็บปวยใหหายที่เคยเป นความเชื่อหลักในการสรางพระกริ่งในอดีตไมปรากฏวาเปนอํานาจพ ุทธคุณที่ยอมรับของพระกริ่งรุนน ี้อาจเนื่องมาจากการสาธารณะสุขที่ดีขึ้นทําให ไมมีการใช น้ํามนต ในการรักษาโรคและจากพระกริ่งรุนน ี้จึงไม ไดรับความเช ื่อในอ ํานาจพุทธคุณดานรักษาโรคจึงเปล ี่ยนของที่ถือในพระหัตถซายเป นวัชระแทนเพื่อใหมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตราย2.2 พระกร ิ่งสมเด็จพระสังฆราช(แพ) รุนพรหมมุนี (รูปท ี่ 28) เปนชื่ อเรียกพระกร ิ่งที่พระองคทรงสรางขึ้นทุกประหว างพ.ศ. 2458-246696มาจากพระยศของทานขณะนั้นที่ทรงดํารงพระยศเปนพระพรห
ประวัติการสร างหล ังจากที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ได สรางพระกริ่งเทพโมลีขึ้นเปนรุนแรกที่วั ดสุทัศน เทพวรารามในพ.ศ. 2441 แล วหลังจากนั้นทุกวันเพ็ญเดือน 12 ทานได สรางพระกริ่งขึ้นเปนประจําทุกป ตามกําลังว ันในปนั้นๆเชนระหว างพ.ศ. 2441-2443 ไดสรางพระกริ่งเทพโมลีรุนแขนต ันขึ้น97รุนปลัดจ ิ๋วในพ.ศ. 245598รุนเขมรน อยในพ.ศ. 245699และเมื่อพระองคไดรับพระราชทานยศเปนพระพรหมม ุนีทานได สรางพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องพระกร ิ่งที่สรางขึ้นในระหวางพ.ศ. 2458-2466 เรียกวาพระกริ่งรุนพรหมมุนีตามพระยศของทานขณะที่สรางนั้นโดยตามประวัติการสร างกลาววาไดใหชางถอดแบบมาจากพระกริ่งของจีนวิเคราะหดานประวัติการสร างตามประว ัติของพระองค ทานได รับพระราชทานยศเปนพระพรหมมุนี ในพ.ศ. 2455100และในปพ.ศ. 2466 พระองคไดเลื่อนพระยศเปนสมเด็จพุฒาจารย101ซึ่งท านไดดํารงพระยศเป นพระพรหมมุนีนั้ นอยูระหวางพ.ศ. 2455-2466 ซึ่งหากพระกริ่งรุนน ี้เปนชื่อเรียกพระกร ิ่งที่สรางขึ้นหลังจากที่ไดรับพระยศเป นพระพรหมม ุนี แลวพระกริ่งที่สรางขึ้นในระหวางพ.ศ. 2455-2466 ก็ ควรถูกเรียกว าพระกร ิ่งรุนพรหมม ุนีทั้งหมดแตในพ.ศ. 2455 พระกริ่งที่สรางขึ้นทานเรียกวา”พระกริ่งรุนปลัดจ ิ๋ว”เพราะวาปลัดจ ิ๋วเปนผ ูตกแต งองคพระกริ่งรุนนี้หลักจากที่หลอเสร็จแลวตอมาช วงระหวางพ.ศ.2456-2458 พระองคทานได สรางพระกริ่งขึ้นอีกโดยเรี ยกพระกริ่งรุนน ี้วา”พระกริ่งเขมรนอย”102เพราะพระองคไดถอดแบบมาจากพระกริ่งขอมและมีการตกแตงพระพักตรก็ใช การขุดใหเปนรอยซึ่งต างจากการทําในอดีตสวนระหว างพ.ศ. 2458-2466 พระกริ่งที่สร างขึ้นในชวงเวลานี้ไดถอดแบบการสรางมาจากพระกริ่งจีนและถูกเรียกว า “รุนพรหมมุนี” อาจเนื่องมาจากพระองคไมไดกํ าหนดชื่อเรี ยกตั้งแตแรกดังน ั้นในวงการพระเครื่องจึงใชพระยศของทานในขณะสรางมาเปนชื่อเร ียกรุนของพระกร ิ่งเชนที่เคยเรียกมาตั้งแต การสรางในรุนแรกสวนพระกริ่งที่สรางขึ้นระหวางพ.ศ. 2455-2458 ไมถูกเรียกว ารุนพรหมม ุนีนั้นอาจมาจากพระองคไดกําหนดช ื่อเรียกไวตั้งแต แรกสร างอีกทั้งพ ุทธลักษณะก็ตางก ันกับพระกร ิ่งที่สรางระหวางพ.ศ. 2458-2466 สวนประวัติการสร างของพระกริ่งพรหมมุนีที่กล าววานําพระกริ่งจีนมาเปนตนแบบจะกลาวถึงในสวนวิเคราะหพุทธล ักษณ
พุทธล ักษณะสรางจากนวโลหะสีดําทําเป นประติมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหน าสวนด านหลังฐานพระเรียบไมมีลวดลายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเครื่องทรงอยางนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบชายจีวรไมมีตุมคลายไขปลาที่พระศอไม คลองลูกประค ําพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเปนแบบจีนคือเป นเสนตรงปลายชี้ขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมการสรางในแตละป มีความแตกตางกันบางเชนพระวรกายที่หนาบางไมเทากันขนาดของฐานบัวคว่ําบัวหงายที่สูงต ่ําไมเทากันแตความส ูงขององคพระจากฐานถึงสวนบนส ุดประมาณ 4 ซ.ม. วิเคราะหพุทธลักษณะตามประว ัติการสร างกลาววาสมเด ็จพระส ังฆราช(แพ) ไดใหชางถอดแบบการสรางจากพระกริ่งจีน (รู ปที่ 9) ดังน ั้นพระกริ่งพรหมมุนีนี้จึงม ีพุทธล ักษณะคลายพระกร ิ่งจีนเชนล ักษณะพระพ ักตรที่คอนข างกลมพระเนตรเร ียวเล็กปลายชี้ขึ้นล ักษณะของฐานบัวคว ่ําบัวหงายที่กล ีบบัวโคงมนพระหัตถซายถ ือวัชระแตก็มีพุทธล ักษณะบางอยางที่ตางออกไปโดยแสดงความเปนพุทธศิลปะแบบไทยมากขึ้นเชนที่ขอบชายจีวรไมมีการสรางตุมไขปลาซึ่งเป นพุทธลักษณะพระพ ุทธรูปแบบการไมมีลายตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรนี้อาจเนื่องจากไมใชลักษณะของจ ีวรที่พระสงฆ ไทยใชดังน ั้นพระองค จึงอาจไม โปรดใหมีการท ําลวดลายด ังกล าวท ี่ขอบจีวรจากพุทธลักษณะโดยรวมพบวาพระกริ่งรุนพรหมมุนีนี้มีพุทธล ักษณะใกลเคียงก ับพุทธล ักษณะของพระกริ่งจีนทั้งลักษณะของพระพักตรพระเนตรจะมีแตกตางไปบางในเรื่องของการที่ขอบชายจีวรไมมีลายตุ มไขปลาดังน ั้นการกลาววาพระกริ่งรุนน ี้ไดถอดแบบการสรางมาจากพระกริ่งจีนจึงมีความเปนไปไดความเชื่อในอํานาจพุทธคุณเม ื่อสมเด็จพระสังฆราช (แพ) สรางพระกริ่งรุนพรหมม ุนีขึ้นท านไมไดระบุอยางชัดเจนวาพระกริ่งนี้มีอํานาจพ ุทธคุณพิเศษในด านใดแตอํานาจพ ุทธคุณที่เปนที่เชื่อถ ือในวงการพระเครื่องเชื่อก ันวาพระกริ่งทุกรุนที่สรางโดยสมเด็จพระสังฆราช(แพ) นั้ นมีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติดลบันดาลใหผูบูชาประสบแตความสุขความเจริญและเมตตามหานิยม103 (จากวิธีการสร างและวัตถุที่นํามาสร างที่เหมือนก ัน) ขณะเดียวกันเมื่อพุทธลักษณะของพระกริ่งพรหมมุนีโดยรวมคล ายพระกริ่งจีนดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณของพระกร ิ่งรุนน ี้จึงคลายพระกร ิ่งจีนดวยคือผ ูทําการบูชาจะพบกับความสําเร็จสมหวังทุกประกา
42วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช(แพ) สรางขึ้นในแตละปจะมีพุทธล ักษณะที่ตางก ันไปมากบางนอยบ างแตเน ื่องจากความเชื่อที่วาในการสรางพระกริ่งของทานทุกครั้งจะใชวัตถ ุมงคลในการสรางที่เหมือนเด ิมและว ิธีการสร างที่ถูกตองตามต ําราแบบเดิมทุกครั้งดังน ั้นแมไมมีการกําหนดวาพระกริ่งในแตละรุนที่สรางขึ้นจะมีอํานาจพ ุทธคุณเดนในดานใดแตเม ื่อสรางตามตําราเดิมจึงเกิดความเช ื่อที่วาพระกริ่งท ี่ทานสร างทุกรุนม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันภัยพิบัติดลบันดาลใหผูบูชาประสบแตความสุขความเจริญและเมตตามหานิ ยมขณะเด ียวกันเมื่อรูปแบบท ี่แตกตางไปจากการน ําพระกร ิ่งของประเทศอื่นมาเปนตนแบบในการสรางจึงเกิดการผสมผสานในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งอื่นๆแตที่สําคัญที่สุดพบวาการสรางพระกร ิ่งของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ตั้ งแตเริ่มตนจนถึงรุนส ุดทายไม เคยมีความเชื่อดานการน ําพระกร ิ่งไปแชในน้ําเพื่อทําน้ํามนตใหผูเจ ็บปวยไดดื่มก ินซึ่งเป นจุดเริ่มตนที่ทําใหพระองคสนใจในการศึกษาและสรางพระกริ่งซึ่งอาจเน ื่องจากการสาธารณะสุขที่ดีขึ้นตามที่กล าวมาแลวหรืออาจเน ื่องจากความเชื่อดังกล าวเปนความเช ื่อในการบูชาพระกริ่งปวเรศและผูคนทั่วไปและกษัตริยก็ ใหความศรัทธากับพระกริ่งปวเรศในการใชทําน ้ํามนตมากกวาขณะเดียวกันพุทธ-ลักษณะท ี่พระหัตถซายถ ือวัชระไมไดถือหม อน้ํามนตก็อาจเป นอี กเหตุผลหนึ่งที่พระกริ่งที่สมเด ็จ-พระสังฆราช(แพ) สร างขึ้นไมเคยไดรับศร ัทธาในการบูชาเพื่อใชทําน ้ํามนตรักษาผ ูเจ็บปวย2.3 พระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนอุดผงอ ุดพระเกศา (รูปท ี่ 29) เจ าคุณศรี(สนธิ์)ไดบวชเปนพระท ี่วัดส ุทัศน โดยสมเด็จพระส ังฆราช (แพ) เปนพระอุปชฌาย ตามประว ัติทานเจ าคุณศร ีนั้นเป นผูใกลชิดและได รับการถ ายทอดการวิธีการสร างพระกริ่งจากสมเด็จพระส ังฆราช(แพ) จนสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ตรัสวา”มหาสนธิ์เขาจะแทนฉัน”105สวนพระกร ิ่งรุนน ี้ที่เรี ยกวา”รุนอ ุดผงอุดพระเกศา”เนื่องจากมีการน ําพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมในการสรางประวัติการสรางเน ื่องจากพระครูวินั ยกรณโสภณซึ่งขณะน ั้นไดบวชอย ูที่วัดสุทัศน ฯจากการที่ทานเปนคนนครนายกจึงต องการหาทุนในการสรางโรงเรียนที่วัดชางอํ าเภอบานนาจึงขอใหเจาคุณศร ีสรางพระกริ่งขึ้นเพื่อใช หาทุนในการสรางโรงเรียนซึ่งท านเจาคุณศร ีก็ได ทําการสรางใหจํานวน 400 องค โดยแบ งไวที่วัดส ุทัศน 100 องค และให นํ าไปหาทุนสรางโรงเรียน 300 องค106พระกริ่งรุนนี้ไดทําการสร างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2484 ซึ่งในการสรางไดมีการน ําพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) มาเป นสวนผสมในการสรางทําใหพระกร ิ่งรุนนี้มีชื่อเรียกว า “รุนอุดผงอ ุดพระเกศา” ขณะเดียวกันพระกริ่งที่สรางขึ้นนี้ไดสรางขึ้นเพื่อหวังประโยชนในการหาทุนสรางโรงเรียนที่วัดช างบางท านจึงเรียกพระกร ิ่งรุนน ี้วา”พระกริ่งว ัดชาง”
วิเคราะห ดานประว ัติการสร างจากประวัติดานการสร างสวนที่พอระบุความไดชัดเจนคงเป นเรื่องของจุดมุงหมายในการสรางของพระกริ่งรุนน ี้ที่สร างขึ้นเพื่อหาทุนในการสรางโรงเรียนว ัดชางอ.บานนาจ.นครนายกเพราะพระกริ่งรุนน ี้ในวงการพระเครื่องมักเรียกก ันวา”พระกริ่งวัดช าง” สวนผ ูดําเน ินการสรางที่ระบุวาเป นเจาคุณศรีนั้นก ็นาจะเป นไปไดแมรูปแบบการสรางทั่วไปจะไมมีความแตกต างกับพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) สรางก็ตามแตวัสด ุที่นํามาสรางมีการนําผงพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมแสดงให เห็นความแตกตางจากตําราเดิมที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) ใชสรางมาตั้งแตพ.ศ. 2441 และการนําผงพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) มาเปนสวนผสมในการสรางก็คงเปนไปได เพราะพระกริ่งรุนน ี้ในวงการพระเครื่องมักเรียกกันวา “รุ นอุดผงอ ุดพระเกศา” สวนเรื่องป พ.ศ. ในการสรางและจํานวนในการสรางเราคงไมสามารถหาขอมูลมาชวยยื นยันไดนอกจากหล ักฐานทางเอกสารที่มีการระบุไว ในหนังสือท ําเนียบพระกริ่งพระช ัยวัฒนเทานั้นพุทธลักษณะพระกริ่งเจาคุณศรีรุนอุดผงอ ุดพระเกศานั้นมีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งใหญของจีนคือเป นประติมากรรมลอยตัวสร างจากนวโลหะสีเหลืองทองประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไมมีลวดลายพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรห มเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งทางดานหนาและดานหลัง (รูปท ี่ 30) พระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเป นเสนตรงเป นแบบจีนเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ ดโลหะหรือล ูกกริ่งอย ูขางในขณะเดียวกันที่ฐานขององคพระมีผงว ิเศษบรรจุไวเชนพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ผงสมเด ็จวัดระฆังวิเคราะหพุทธลักษณะจากพ ุทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนน ี้มีความใกลเคี ยงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นคือคลายก ับพระกริ่งจีนซึ่งสมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) ไดใชพระกริ่งจ ีนเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งของทานต ั้งแตพ.ศ.2458 ซึ่งพ ุทธลักษณะที่คลายก ับพระกริ่งจีนหรือแสดงอิทธิพลของพระกริ่งจีนเชนลักษณะของพระพักตรที่คอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวแหลมขอบชายจ ีวรทําเป นลายตุมไขปลาเริ่มตั้งแตพระอังสาซายผานลงมาถึงซอกพระกรดานซายแสดงให เห็นการกลับไปยึดรูปแบบการสรางที่เคยสรางตั้งแตพระกริ่งเทพโมลีเพราะพระกริ่งที่สรางที่วัดส ุทัศน ฯในช วงหลังไมนิ ยมทําตุมไข ปลาที่ขอบชายจีวรอาจเน ื่องจากเปนพระกริ่งท ี่เจาคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นในชวงแรกๆจึงต องใหมีพุทธล ักษณะที่ใกลเคียงพระกริ่งท ี่เคยสรางในอดีตเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นและศรัทธาวาทานเปนผูที่ได รับส ืบทอดตําราและพิธีกรรมในการสรางพระกริ่งตามตําราที่มีมาแต เดิมจากสมเด็จพระสังฆราช (แพ) รวมถึงเพ ื่อใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณที่ทานเจ าคุณศรีสร างขึ้นวาเหมือนก ับอํานาจพุทธคุณในพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) สร
ความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณพระกร ิ่งที่เจาคุณศรี (สนธิ์) สร างขึ้นรุนนี้นั้นในประว ัติการสรางไมมีการกล าวถึงอํ านาจพุทธคุณไวอยางชัดเจนแตในวงการพระเครื่องก็ถือว าพระกริ่งที่เจาคุณศรีสร างขึ้นทุกรุนมีอํ านาจพุทธคุณที่เสมอพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางเนื่องจากใชตําราและพ ิธีกรรมแบบเด ียวกันในการสรางอีกทั้งจากพ ุทธลักษณะที่ปรากฏก็ไมไดแตกตางจากพุทธลักษณะที่มีมาแตเดิมในการสร างพระกริ่งดังน ั้นอํานาจพ ุทธคุณของพระกร ิ่งของเจาคุณศรี (สนธิ์) รุนอ ุดผงอุดพระเกศาจึงได รับการยอมร ับวามีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาด107วิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณจากประวัติการสร างพระกริ่งของวัดสุทัศน ฯพบวาทานเจาคุณศรี(สนธิ์)เปนผูชวยสมเด ็จพระสังฆราช(แพ) ในการหลอพระกริ่งอย ูเสมออีกทั้งย ังเปนผูไดรับสืบทอดตําราการสรางพระกริ่งนอกจากนั้นสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ยังได ตรัสว า”มหา-สนธิ์เขาจะแทนฉัน” แสดงใหเห็นวาทานคุณศรี (สนธิ์) เปนผูที่ได รั บถายทอดความรูในการสรางพระกริ่งสายวัดสุทัศนเทพวรารามมาจากสมเด็จพระสังฆราช (แพ) โดยตรงดั งนั้นพระกริ่งในรุนตางๆท ี่เจาคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นนั้นในวงการพระเครื่องก็ใหความศรัทธาและเชื่อม ั่นในอํานาจพุทธค ุณเชนเด ียวกับพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช(แพ) สรางขึ้นนอกจากน ั้นพระกริ่งรุนน ี้ยังม ีการบรรจุผงวิเศษตางๆเชนพระเกศาของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) ผงพระวัดสามปลื้มผงพระเก ามาเปนสวนผสมในการสรางก็นาจะเป นสิ่งกระต ุนใหเกิดความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้มากขึ้นซึ่งก ็คงเปนอ ํานาจพุทธคุณในดานการปองกันอันตรายและแคลวคลาดที่เป นอํานาจพุทธค ุณที่สําค ัญของพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดน ี้2.4 พระกริ่งเจาคุณศรี(สนธิ์) รุนประภามณฑล (รูปท ี่ 31) พระกริ่งประภามณฑลนี้เจาคุณศรีได สรางขึ้นหลายรุนในชวงพ.ศ. 2485 – 2487 ซึ่งนับเปนพระกริ่งที่ทานเจ าคุณศรี (สนธิ์) สรางขึ้นโดยมีลักษณะต างจากพระกริ่งที่เคยสรางก ันมาในอดีตที่วั ดนี้โดยสาเหตุที่เรียกพระกร ิ่งเหลานั้นวาพระกริ่งรุนประภามณฑลเนื่องจากที่บริเวณด านหลังของเศียรพระมีการสรางเปนประภามณฑลขึ้นมาประวัติการสร างในชวงพ.ศ. 2485 ทานเจาคุณศรี (สนธิ์) ไดสรางพระกริ่งที่มีประภามณฑลขึ้นบริเวณดานหล ังเศียรพระทั้งสิ้น 4 รุนโดยรุนที่ 1 สร างจํานวน 10 องครุนที่ 2 สรางจํานวน 40 องค รุนที่ 3 สร างจํานวน 4 องค รุนที่ 4 สร างจํานวน 300 องค และในพ.ศ. 2487 ไดสรางขึ้นเปนรุนที่ 5 จํานวน 5 องค สรางขึ้นเพื่อใชตั้งบ ูชาหรือทําน้ํามนต
วิเคราะห ประวัติการสร างเน ื่องจากมีการระบุในเร ื่องจํานวนและปที่สร างไว อยางชัดเจนจึงเป นเครื่องยืนยันถึงประวัติการสรางของพระกริ่งรุนน ี้ขณะเด ียวกันในการสรางพระกริ่งประภามณฑลขึ้นในรุนที่ 4 ในวันที่ 6 ตุลาคม 2485108ซึ่งช วงนั้นเกิดน้ําทวมครั้งใหญ ในกรุงเทพฯดังน ั้นพระกร ิ่งประภามณฑลรุนที่ 4 จึงม ีชื่อเรียกอ ีกอย างวา “รุนน ้ําทวม” ซึ่งเป นเครื่องชวยยืนยันถึงป ที่ทําการสร างพระกริ่งประภามณฑลสวนจ ํานวนในการสรางในแตละรุนน ั้นนอกจากมีเอกสารระบุถึงจ ํานวนในการสรางไวอยางชัดเจนแลวในแตละรุนย ังใช วัสด ุในการสรางที่ตางก ันเชนรุนที่ 1 ใชสําร ิดรุนท ี่ 4 ใชโลหะทองผสมรุนท ี่ 5 ใชโลหะเงินลวนซึ่งเป นเครื่องชวยยื นยันจํานวนสร างในแตละรุนพุทธลักษณะพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลมีพุทธลักษณะทั่วไปคลายลักษณะของพุทธศิลปะแบบไทยโดยท ําเปนประต ิมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางดานหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายกลีบบัวมีขนาดเล็กและโคงมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือหมอน้ํามนตแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบจีวรไมมีตุมไข ปลาคลายล ักษณะจีวรตามพุทธศ ิลปะแบบไทยพระพั กตรสี่เหล ี่ยมเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมพระเนตรเหลือบมองลงต่ําบริเวณด านหลังของเศียรพระสรางเปนประภามณฑลขึ้นมาภายในองคพระยังคงบรรจุเม็ดโลหะอย ูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะพุ ทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลจะเห็นวามีการเปลี่ยนแปลงให มีความเป นไทยมากขึ้นและไมยึดติ ดกับรูปแบบท ี่เคยสรางตั้งแตรุนแรกของวัดสุทัศน ฯนี้เชนล ักษณะของพระพักตรที่เปลี่ ยนจากล ักษณะกลมเปนสี่เหล ี่ยมพระเนตรท ี่เคยทําเรียวเล ็กแบบจีนก็ทําพระเนตรโปนเหลือบมองลงต่ําแบบไทยการครองจีวรก็ไมทําต ุมไขปลาที่ขอบชายจีวรอยางที่เคยท ําในพระกริ่งแบบจีนสวนว ัตถุที่ถืออย ูบนก็เปลี่ ยนเปนหมอน ้ํามนตซึ่งอาจเพ ื่อเปลี่ยนแปลงดานความเช ื่อนอกจากน ั้นยังมีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะที่สําค ัญของการสรางพระกริ่งคือการสรางประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระซึ่งอาจเน ื่องจากใหมีเอกลักษณและแสดงความเปนไทยมากขึ้นความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามที่ไดกลาวมาแล ววาพระกร ิ่งที่เจาคุณศรี (สนธิ์) สร างขึ้นไม มีการกล าวถึงอํานาจพ ุทธคุณไวอยางชัดเจนแต ในวงการพระเครื่องก็ถือว าพระกร ิ่งที่เจาคุณศรีสร างขึ้นทุกรุนมีอํานาจพ ุทธคุณที่เสมอพระกริ่งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางคือม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดดั งนั้นพระกริ่งรุนน ี้ของทานเจาคุณศรี(สนธิ์)ก็ไดรับศร ัทธาในอํานาจพุทธคุณดานดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดด วยเช
วิเคราะห ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณจากการสรางพระกริ่งของเจาคุณศรีได ยึดการสรางตามตําราเดิมดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณก็เหมือนท ี่เคยย ึดถือในอดีตคือแคลวคลาดและปองก ันอันตรายแตขณะเด ียวกันจากพุทธลักษณะของพระกริ่งรุนน ี้ที่มีการเปล ี่ยนแปลงไปจากเดิมเชนการท ําประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระหรือทําหมอน้ํามนตไวบนพระห ัตถซายแทนวัชระก็อาจท ําใหเกิดความเชื่อในการบูชาพระกริ่งเจาคุณศรีรุนประภามณฑลใหมคืออาจสร างขึ้นเพื่อใชในการท ําพิธีในการทํ าน้ํามนตในงานพิธีตางๆแตคงไม ไดใชเพ ื่อทําน้ํามนตใหผูปวยดื่มเหมือนความเช ื่อในการสรางพระกริ่งที่บนหม อน้ํามนตบนพระหัตถซายของพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดบวรนิเวศนฯนอกจากนั้นเราจะเห็นวาการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดส ุทัศน นี้ตั้งแต รุ นแรกสวนมากมีความสูงตั้งแตฐานถึงสวนบนสุดไมเกิน 4 ซม. แต เมื่อพระกริ่งเจ าคุณศรีรุนประภามณฑลมีการสรางประภามณฑลขึ้นที่ดานหล ังของเศียรพระทําให ความสูงโดยรวมขององคพระมีความส ูงขึ้นจึงไมเหมาะที่จะนํามาพกพานําติดตัวแสดงใหเห็นถึงจุดประสงคหลักที่สร างพระกริ่งรุนน ี้ไมไดตองการให นําต ิดตัวดังน ั้นอํ านาจพุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้อาจไม เนนในเรื่องการปองกันอันตรายแคลวคลาดขณะที่เดินทาง2.5 พระกร ิ่งจักรพรรดิ (รูปที่ 32) ในชวงเวลาที่จั ดทําสารนิพนธนี้ (มีนาคม 2547)พระกริ่งจักรพรรดินี้นับเป นพระกริ่งที่สรางขึ้นเปนรุนหลังสุดของว ัดสุทัศน ฯโดยที่เร ียกวาพระกริ่งจักรพรรด ินั้นเน ื่องจากฤกษที่ใชในการสร างเปนราชาฤกษประวัติการสรางพระกร ิ่งจักรพรรดิสรางขึ้นเมื่อ 1 กุมภาพ ันธ 2546 เป นพระกริ่งท ี่สรางขึ้นโดยพระวิสุทธาธ ิบดีเจ าอาวาสองคที่ 7 ของว ัดสุทัศน ฯสร างขึ้นจํานวน 2,116 องคโดยแบงเป นชนิดโลหะต างๆเชนเน ื้อทองคําจํานวน 27 องค เน ื้อนาค 1 องค เน ื้อนวโลหะ 672 องคเปนตน109โดยการสรางยังใช วิธีการในการสรางรวมถึงวัสดุที่นํามาสร างตามแบบเดิมของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) วิเคราะหประวัติการสรางเนื่องจากการสรางพระกริ่งจักรพรรดิเพิ่งมีการจัดสรางขึ้นจึงม ีการบันทึกขอม ูลในการสรางไวในท ุกขั้นตอนรวมถึงว ันที่ทําพ ิธีกรรมต างๆจํานวนในการสรางซึ่งเปนขอม ูลที่มีความช ัดเจนและถูกตอง110ซึ่งสามารถตรวจสอบไดอยางชัดเจนจากเอกสารการสรางพระกริ่งรุนน ี้
47พุทธล ักษณะกล าวกันวาพระกริ่งจักรพรรดิไดใชตําราในการสร างตามแบบของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) คือสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายแต มีการตอกโค ดในการสรางไวเชนตัว “ภ” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระทรงเคร ื่องทรงอยางน ักบวชไม สวมเครื่องประดับครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจีวรมีตุ มคลายไขปลาหรือลูกประค ําทั้งทางดานหนาและดานหลัง (รูปท ี่ 32 และ 33) แตสวนของชายจีวรที่พาดผานข อพระห ัตถซายท ําเรียบไมมีตุมไข ปลาพระพั กตรคอนข างกลมพระเนตรเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นตามแบบจีนเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะอย ูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะจะเห ็นวาพุทธลักษณะโดยรวมของพระกริ่งจักรพรรดินี้ใกลเคียงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่สมเด ็จพระส ังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นทั้งลักษณะการท ําพระพักตรที่ค อนขางกลมการทําพระเนตรเรียวเล็กปลายเฉ ียงขึ้นการท ําตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรเพราะพระองคทานได ถอดแบบการสรางพระกริ่งมาจากพระกริ่งจีนตามที่ไดกลาวมาแลวจึงท ําให พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางที่วัดส ุทัศน ฯนี้ในอด ีตมักมีพุทธล ักษณะคลายพระกริ่งจีนตามแบบที่สมเด ็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้นและจากพุทธลักษณะของพระกริ่งจักรพรรด ิที่เพ ิ่งสรางขึ้นยังคงร ักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญไวไดอยางครบถวนแสดงให เห็นถึงการร ักษารูปแบบในการสรางของพระกริ่งที่วัดน ี้วาต องสรางตามรูปแบบที่สรางกันมาตั้งแตเริ่มแรกแมจะม ีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางในบางชวงเวลาเชนพระกริ่งที่เจาคุณศรี(สนธิ์) สรางขึ้นแต คงไมเปนท ี่นิยมดังน ั้นแมเวลาผานมากวา 100 ปตั้งแต มีการสร างพระกริ่งขึ้นเปนครั้งแรกท ี่วัดส ุทัศน เทพวรารามแตในดานพุทธลักษณะของพระกริ่งก็ยังคงย ึดมั่นตามตําราที่สรางกันมาตั้งแตอดีตความเชื่อในอํานาจพุทธคุณแมวาการสรางพระเครื่องในปจจุบันมักมีการกล าวอางไวอยางชัดเจนแตการสรางพระกริ่งจักรพรรด ินี้ไมมีการระบ ุไวในประว ัติการสร างวาม ีอํานาจพุทธค ุณดานใดแตจากร ูปแบบการสรางและพิธีกรรมในการสรางที่ยึดตามว ิธีการท ี่เคยใชกั นมาตั้งแต ในอด ีตรวมถึงพ ุทธลักษณะก็มีความเหม ือนกับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่เคยสรางข ึ้นที่วัดน ี้จึงน าจะเปนไปไดวาม ีอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเชนกันวิเคราะหความเชื่อในอํานาจพุทธคุณตามท ี่ไดกลาวมาแลววาการสร างพระเครื่องในสมัยหลังมักมี การกลาวอางในเร ื่องของการใชวัตถ ุมงคลตางๆการใช พระเกจิอาจารยที่มีชื่อเสียงมาทําพ ิธีกรรมในการปลุกเสกและทําพ ิธีหล อองคพระเพื่อใหพระเคร ื่องเหลาน ั้นมีอํานาจพ ุทธคุณที่กลาแข็งซึ่งอํานาจพ ุทธคุณที่เป นที่นิ ยมในวงการพระเครื่องมักเปนเรื่องเกี่ยวก ับเมตตามหานิยมแคลวคลาดป องกันอันตรายและเน ื่องจากการสร างพระกริ่งจักรพรรดิไมไดมีขอม ูลที่ระบุไวอย
ชัดเจนถ ึงอํานาจพ ุทธคุณแตเน ื่องดวยมีการกลาววามีการใชวัตถ ุมงคลตางๆในการหลอองคพระเชนเด ียวกับที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เคยใชอีกท ั้งพิธีกรรมต างๆก็เหมือนก ับที่เคยทําในอดีตดังน ั้นแมในวงการพระเครื่องยังไมไดมีการกลาวขานถึงอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งรุนน ี้แตจากการสรางที่มีรูปแบบและพิธี กรรมตามแบบที่เคยทําในอดีตรวมถึงพ ุทธลักษณะก็เหมือนกับพระกริ่งในอดีตที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) เคยสรางก็นาจะเป นไปไดวาพระกร ิ่งรุนน ี้คงไดรับศร ัทธาในอํานาจพ ุทธคุณดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเชนก ันจากตัวอยางของพระกริ่งรุนต างๆที่สรางขึ้นที่วัดส ุทัศน เทพวรารามนี้พบวามีการสรางพระกริ่งขึ้นอย างตอเนื่องมาเปนเวลานานโดยเริ่มต ั้งแตพ.ศ. 2441 โดยสมเด็จพระสังฆราช(แพ) หลังจากนั้นพระองคทานก ็ไดสรางพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องเปนประจ ําทุกปในว ันเพ็ญเดือน 12 จนถึงพ.ศ. 2486 เรียกวาพระกริ่งรุนเชียงตุงน ับเปนรุนสุดทายท ี่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางขึ้น111ซึ่งพ ุทธลักษณะที่ทานใช สรางพระกริ่งนั้นก็มีความแตกต างกันมากแตไม มากนักเชนองค พระประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาสวนด านหลังฐานพระเรียบไม มีลวดลายพระห ัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาขอบจีวรมีตุมคล ายไขปลาหรือลูกประคําทั้งทางดานหนาและดานหลังพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเปนเสนตรงปลายเฉียงขึ้นเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะอย ูขางในหลังจากนั้นการสรางพระกริ่งที่วัดสุทัศนก็ ไดสรางโดยเจาคุณศรี(สนธิ์) จนท านมรณะภาพเมื่อพ.ศ. 2495112แตการสร างพระกริ่งของเจาคุณศรีนั้ นไดมีการเปล ี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางเชนพระกร ิ่งประภามณฑลพระกร ิ่งนาคปรกแตคงไมเป นที่นิยมซึ่งเห ็นไดจากหลังจากท ี่ทานมรณะภาพก็ยังม ีการสรางพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้แม จะไมสรางขึ้นเปนประจําทุกปเหมือนก ับครั้งที่สมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทรงสรางแต คงสรางในโอกาสสําคัญโดยผูที่รับผิดชอบในการสรางมักเปนเจาอาวาสผ ูครองวัดสุทัศน เทพวรารามนั้นเอง113โดยย ึดถือการสรางตามตําราที่มีมาแตเดิมของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) ทั้งด านพิธีกรรมวัตถุที่นํามาจัดสรางพุ ทธลักษณะของพระกริ่งจากการสร างพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องมาเปนเวลานานกวา 100 ปที่วัดน ี้ทําให พระกริ่งที่สรางขึ้นที่วัดส ุทัศน ได รับการน ับถือก ันมากที่สุดในวงการพระเครื่องในปจจุบัน
3. พระกริ่งกลุมวังจ ันทนจังหว ัดพิษณุโลกจากการพบว ังจันทนวังที่พระนเรศวรเคยประทับในบร ิเวณโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคมและมีการสรางพระราชานุสาวรียสมเด ็จพระนเรศวรโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหั วรัชกาลปจจ ุบันไดเสด ็จเปดพระราชาน ุสาวรียในพ.ศ. 2505 สมาคมนักเรียนเก าโรงเรียนพิษณุโลกพิ ทยาคมจึงคิดสรางพระกริ่งนเรศวรขึ้น114โดยพระกริ่งที่สําค ัญที่สรางขึ้นของกลุมนี้เชน3.1 พระกริ่งนเรศวร (รูปที่ 34 ) ที่เรียกว าพระกริ่งนเรศวรนั้นเนื่องจากพระกร ิ่งรุนน ี้ไดทําการสร างขึ้นที่วังจ ันทนจ.พิษณ ุโลกซึ่งม ีพระบรมราชานุสาวรียสมเด ็จพระนเรศวรอยูในบริเวณว ังจันทนอีกทั้งเป นการจัดสรางขึ้นเปนรุนแรกประวัติการสรางถือเป นการสรางพระกริ่งในตระกูลพระกริ่งนเรศวรขึ้นเปนครั้งแรกโดยมีพล.ต.ต. ยรรยงสท านไตรภพเป นประธานในการสรางเม ื่อวันที่ 19 พฤศจ ิกายนพ.ศ. 2507 โดยสรางข ึ้นทั้งสิ้น 500 องค วิเคราะหประวัติการสรางจะเห ็นวาการสรางพระกริ่งในตระกูลพระกริ่งนเรศวรนั้นเริ่มสรางเปนคร ั้งแรกเมื่อชวงตนของพุทธศ ักราชที่ 2500 นี้เองหลังจากการสรางพระกริ่งในกลุมวัดบวรนิเวศนและว ัดสุทัศน เทพวรารามประมาณ 50 ปซึ่งช วงเวลาดังกลาวเราจะเห ็นวาพระกร ิ่งไดเปนที่นิยมในการนับถือในเมืองไทยอยางม ั่นคงแลวโดยเฉพาะพระกริ่งในกลุมวัดสุทัศน ฯดังน ั้นการสรางพระกริ่งขึ้นในกลุมใหม จึงต องสรางความนาเชื่อถือโดยการก ําหนดใหชื่อพระกร ิ่งนเรศวรโดยอาจหวังนําความเกี่ยวของในเร ื่องตํานานการสรางพระกริ่งที่กลาวอางก ันอย ูเสมอวาพระว ันรัตทรงสรางพระกริ่งขึ้นประดับที่พระมาลาของสมเด็จพระนเรศวรและนําพระนามของสมเด็จพระ-นเรศวรมาชวยใหเกิดศรัทธาในการบูชาพระกริ่งที่สรางขึ้นใหมนี้ส วนเรื่องจ ํานวนและว ันที่ทําการสรางพระกริ่งนเรศวรนั้นเนื่องจากเพิ่งทําการสรางไดไม นานนักจึงยังมีขอม ูลดานเอกสารยืนยันอยูอยางชัดเจนพุทธลักษณะสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวหงายรอบฐานพระทั้งดานหนาและดานหลังฐานมีเกสรบ ัวทําเปนตุมอยูโดยรอบชวงบนของฐานบัวทั้งดานหน าและดานหลังเชนกันพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือหมอน ้ํามนตครองจีวรห มเฉียงเปดพระอังสาขวาขอบจีวรไมมีตุมคล ายไขปลาชายส ังฆาฏิดานหน าสั้นเหนือพระอุระดานซายสวนด านหล ังยาวจรดพระโสณีพระพั กตรคอนข างกลมพระเนตรเรียวปลายเฉียงขึ้นแตไมเล็กเปนเส นตรงตามแบบจีนเม ็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองคพระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางใน
50วิเคราะห พุทธล ักษณะจากการน ั่งขัดสมาธ ิเพชรบนฐานบัวหงายม ีเกสรบัวทําเปนตุมอยูโดยรอบชวงบนของฐานบัวชายสังฆาฏิดานหน าสั้ นเหนือพระอ ุระดานซายสวนด านหลังยาวจรดพระโสณีพระพั กตรคอนข างกลมรั ศมีเปนดอกบัวตูมจากลักษณะด ังกลาวท ั้งหมดจะเห็นวาไมเหมือนก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งที่เคยสรางขึ้นทั้งที่วัดบวรน ิเวศนและที่วัดส ุทัศนแตแสดงใหเห็นถึงอิทธ ิพลของศิลปะลานนาเช นลักษณะของฐานบัวหรือการทําชายสังฆาฏิดานหน าสั้นเหนือพระอุระดานซาย3.2 พระกริ่งนเรศวรวังจันทน (รูปที่ 35) เปนพระกร ิ่งที่สรางขึ้นที่วังจ ันทนจังหว ัด-พิษณ ุโลกเชนเดียวกับพระกริ่งนเรศวรแตที่ดานหล ังฐานพระมีอักษร “นเรศวรวังจันทน” (รูปท ี่ 37) พระกริ่งรุนน ี้จึ งถูกเรียกว า”พระกริ่งนเรศวรวังจันทน” ประวัติการสรางเป นพระท ี่นําพระกริ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช(แพ) เปนตนแบบในการสรางโดยมีพระอาจารยผ องวัดจ ักรวรรด ิราชาวาสเป นประธานในการสรางเม ื่อวันที่ 19 มกราคมพ.ศ. 2515 โดยสรางขึ้นประมาณ 5,000 องควิเคราะหประวัติการสรางประว ัติการสร างพระกร ิ่งรุนน ี้กลาววาไดนําพระกร ิ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) เปนตนแบบซึ่งจากประว ัติ การสรางพระกริ่งเทพโมลีพบวาสรางขึ้นในปพ.ศ. 2441 และสรางขึ้นเพียง 9 องค เทานั้นซึ่ งนับเปนพระกร ิ่งที่หาไดยากและเม ื่อพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทนสรางขึ้นในพ.ศ. 2515 ซึ่งระยะเวลาการสรางหางกันถึง 74 ปยิ่งเป นไปไดยากที่ผูสร างจะหาพระกริ่งเทพโมลีองคจริงมาเปนตนแบบดั งนั้นนาจะเปนไปไดวาเป นการทอดแบบจากภาพมากกวาถอดพิมพจากองค จริงนอกจากน ั้นพุทธลักษณะในหลายสวนของพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทน ยังม ีความแตกตางจากพระกริ่งเทพโมลีซึ่งจะกล าวถึงในสวนของการวิเคราะหพุทธล ักษณะตอไปสวนขอม ูลดานวันที่สรางและจํานวนในการสรางนั้นมีเอกสารระบ ุไวอยางชัดเจนจึงนาจะเปนขอม ูลที่ถูกต องพุทธลักษณะสรางเปนประต ิมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางด านหนาเพียง 7 คูแต กลีบบัวคอนขางเปนเหล ี่ยมดานหล ังมีอักษรจารึกไว วา “นเรศวรวังจันทน” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเป ดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งดานหนาและด านหลังและท ี่ขอบจีวรที่พาดผ านขอพระกรซ ายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเล็กเรี ยวเปนเสนตรงตามพระเนตรของพระพุทธร ูปจีนเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขาง
วิเคราะห พุทธล ักษณะจากพ ุทธลักษณะโดยรวมของการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้พบวามีความแตกตางกับที่เคยสรางในร ุนอื่นเชนล ักษณะของพระเนตรที่ทําเป นเสนเรียวเล ็กแทนการทําพระเนตรโปนเหลือบลงต่ําการท ําลวดลายตุมไขปลาที่ขอบชายจีวรและไม ทําสังฆาฏ ิพาดเหนือพระอังสาซายจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบในการสรางดังกลาวแสดงใหเห็นถึงความเปนไปไดที่ประวัติการสร างกลาววาการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้ไดนําพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบในการสรางแตตามท ี่กลาวไปแลวในสวนของว ิเคราะหประวัติ การสรางวาคงไมไดถอดแบบออกจากพิมพโดยตรงเนื่องจากม ีสวนที่ แสดงความแตกตางเชนล ักษณะของฐานบัวที่กลีบบัวมีขนาดที่เล็กและเปนเหลี่ยมมากกวาการทําพระขนงโค งเปนสันอย างชัดเจนดังนั้นจากพุทธลักษณะดังกลาวทั้งหมดคงกล าวไดวาพระกร ิ่งนเรศวรวังจันทนนี้ได นําพุทธล ักษณะพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบในการสรางแตคงไมได ถอดแบบมาโดยตรงเปนเพียงการนําพุทธลักษณะที่สําค ัญมาแสดงไวเทานั้นขณะเด ียวกันพระกริ่งนเรศวรวังจันทนก็ยังแสดงรูปแบบท ี่เปนของตัวเองไวด วยโดยลักษณะที่สําค ัญที่สุดคือการจาร ึกคําว า “นเรศวรวังจันทน” ที่ดานหล ังฐานพระ3.2 พระกริ่งนเรศวรพระองคดํา (รูปที่ 36) เปนพระกริ่งอีกรุนท ี่สรางขึ้นที่วังจ ันทนเชนก ันแตที่ดานหล ังฐานพระมีอักษร “นเรศวร(พระองคดํา)” (รูปท ี่ 39) พระกริ่งรุนนี้จึงถูกเรี ยกวา”พระกริ่งนเรศวรองคดํา”ซึ่งเป นอีกพระนามหนึ่งของสมเด็จพระนเรศวรที่เรียกกันวา”พระองค ดํา”และเปนขอม ูลที่ชัดเจนท ี่ทําให เราสามารถทราบไดวาพระกริ่งองค ใดเปนพระกริ่งรุนนเรศวรองคดําประวัติการสรางกล าววาพระกริ่งนเรศวรองคดําน ี้เปนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นเพื่อฉลองอายุครบ 100 ปของโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมและพระกริ่งนเรศวรองคดําท ําพิธีเฉลิมพระนามเมื่อ3 พฤศจ ิกายนพ.ศ. 2542 วิเคราะหประวัติการสรางตามประวัติการสรางโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมไดกลาววามีการสร างขึ้นเมื่อพ.ศ. 2442115นอกจากนั้นยังมีบันท ึกที่สมเด ็จกรมพระยานริศรานุวัติ วงศทรงสํารวจว ังจันทนในพ.ศ. 2444 และกลาววา “ตัวอาคารบางหลังของโรงเรียนพิษณ ุโลกพ ิทยาคมไดสรางขึ้นทับพระราชวังจันทน”116ดังน ั้นข อมูลการสรางที่กล าววาพระกริ่งนเรศวรรุนนี้ไดสรางเพื่อฉลองวาระครบ 100 ปของการจัดตั้งโรงเร ียนพิ ษณุโลกพิทยาคมก็นาจะเป นขอม
พุทธล ักษณะเปนประติมากรรมลอยตัวประท ับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหนาเพียง 7 คูดานหล ังฐานบัวมีอักษรจาร ึกไววา “นเรศวร(พระองคดํา)” พระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคลายไข ปลาทั้งดานหนาและดานหลังและที่ขอบจีวรที่พาดผานข อพระกรซายพระพักตรคอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางในวิเคราะหพุทธลักษณะจากพุทธลักษณะโดยรวมของการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนนี้จะพบวาคลายพุ ทธลักษณะของพระกริ่งที่มีการสร างอยูทั่วไปในประเทศไทยคือองคพระพุทธร ูปประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายที่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหน าเพียง 7 คูกล ีบบัวคอนข างกลมมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระครองจีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาทั้งดานหน าและด านหล ังและขอบจีวรที่พาดผานข อพระกรซายพระพักตรคอนขางกลมพระเนตรเล็กเรี ยวเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล็กรัศม ีเปนดอกบัวตูมภายในองค พระมีเม็ดโลหะหรือลูกกริ่งอยูขางในแสดงใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะตั้งแต เริ่มสรางที่มีเอกลักษณ เปนของตัวเองโดยแสดงพุทธศิลปแบบลานนามาผสม (เชนการท ําชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอ ุระดานซาย) มาเป นพุทธลักษณะที่นิ ยมทั่วไปในการสรางพระกริ่งคือคลายพระกร ิ่งจีนอาจเปนผลมาจากการสรางรูปแบบของพระกริ่งที่ตางไปในชวงแรกไม ไดรับความน ิยมหรือศรัทธาในการบูชาจึงม ีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางเพื่อใหพระกริ่งที่สรางขึ้นในกลุมนี้ไดรับความยอมรับในอํานาจพุทธคุณเชนเด ียวกับพระกร ิ่งที่สรางในกลุมอื่นๆจากประวัติการสรางพระกริ่งวังจันทนหรือพระกริ่งนเรศวรพบวาเปนการริเริ่มสรางโดยสมาคมนักเรียนเก าโรงเรียนพิษณ ุโลกพิทยาคมโดยสร างขึ้นครั้งแรกเม ื่อพ.ศ. 2507 โดยการเรียกชื่อพระกริ่งที่สรางขึ้นที่วา”พระกร ิ่งนเรศวร” เนื่องจากภายในพื้นที่ของโรงเรียนมีพระราชวังจันทน ที่เคยเป นที่ประทับของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชโดยพุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางขึ้นตั้งแต เริ่มตนในปพ.ศ. 2507 จะมีลักษณะท ั่วไปคลายพ ุทธศิลปะแบบไทยลานนาเชนการท ําองคพระประทับขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวขนาดใหญสลับเล็กและม ีเกสรบัวหรือการทําชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอุระดานซายปลายเปนเขี้ยวตะขาบซึ่งหลังจากมีการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนแรกแลวก ็มีการสร างพระกริ่งนเรศวรขึ้นอีกหลายรุนโดยมีพุทธลักษณะที่ต างกันไปแตยังแสดงพุทธศ ิลปะแบบไทยเชนในพ.ศ. 2513 มีการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนยุทธหัตถี (รูปท ี่ 37) ขึ้นซึ่งพ ุทธลักษณะโดยรวมคลายศิลปะแบบอูทองเชนพระพ ักตรที่เป นสี่เหลี่ยมชายส ังฆาฏิยาวจรดพระนาภีปลายตัดตรงนอกจากนั้นบนฝาพระห ัตถซายไม ถือว ัชระหรือหม อน้ํามนตที่เปนสัญล ักษณที่สําค ัญของพระกริ่งไว
จากรูปแบบการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนตางๆที่วังจ ันทนนี้พบวาไมไดยึดติ ดกับรูปแบบในการสรางพระกริ่งตามตําราเดิมดังน ั้นอาจมีผลทําใหพระกริ่งที่สรางขึ้นไมไดรับศร ัทธาในการบูชาหร ือความเชื่อถือในอํานาจพุทธคุณเทาที่ควรจึงเก ิดการปรับเปล ี่ยนพุ ทธลักษณะในการสรางโดยใชพระกริ่งเทพโมลีของสมเด็จพระสังฆราช (แพ) มาเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งนเรศวรรุนวังจันทนซึ่งอาจหว ังผลเพื่อใหเกิดศรัทธาในการบูชาเชนเดียวกับพระกริ่งเทพโมลีหลังจากพระกริ่งนเรศวรรุนวังจันทนไดรับการปรับเปลี่ยนพุทธลักษณะในการสรางแลวพระกริ่งกล ุมนี้ที่สร างขึ้นหลังจากนั้นก็ไดเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะในการสรางใหเปนแบบลักษณะน ิยมในการสรางพระกริ่งทั่วไปคือการท ําเปนประติมากรรมลอยตัวประทั บขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงายท ี่มีกล ีบบัวเฉพาะทางดานหนาเพียง 7 คูกล ีบบัวคอนขางกลมมนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือวัชระครองจ ีวรหมเฉียงเปดอังสาขวาขอบจ ีวรมีตุมคล ายไขปลาท ั้งดานหนาและดานหลังและที่ขอบจ ีวรที่พาดผ านขอพระกรซายพระพักตร คอนข างกลมพระเนตรเล็กเรียวเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นเม็ดพระศกขมวดเปนกนหอยขนาดเล ็กรัศม ีเปนดอกบัวต ูมภายในองค พระมีลูกกริ่งอยูขางในเชนพระกร ิ่งนเรศวรรุนเผด็จศึกสรางขึ้นในพ.ศ. 2522 พระกริ่งนเรศวรรุนผานศึกสรางขึ้นในพ.ศ. 2538 การเปลี่ยนแปลงพ ุทธลักษณะในการสรางของพระกริ่งกลุมน ี้นาจะมาจากเหตุผลของความตองการใหพระกริ่งที่สรางขึ้นมีความน าเชื่อถือเกิดศรัทธาและความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณวาเหมือนก ับอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งที่สรางกันในอดีต(โดยเฉพาะกลุมวัดสุทัศน ) ซึ่งเห ็นไดจากจุดเริ่มต นของการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะของพระกริ่งในกลุมนี้ที่กล าววาไดนําพ ุทธลักษณะของพระกริ่งเทพโมลีมาเปนตนแบบนั้นเองแตขณะเดียวกันพระกริ่งกลุมว ังจันทนนี้ก็ยังคงร ักษาเอกลักษณที่สําค ัญไวคือการม ีตัวอ ักษรอยูดานหล ังวาเป นพระกร ิ่งนเรศวรรุนไหนจากตัวอยางการสร างพระกริ่งในประเทศไทยที่กลาวไวขางตนทั้ง 3 กลุมทําให เราทราบวาหลังจากความเชื่อในการบูชาพระกริ่งไดเขาสูประเทศไทยโดยพระสงฆชาวเขมรแลวในชวงต นกรุงร ัตนโกสินทรราวรัชกาลที่ 3 – 4 สังคมไทยก็เกิดการยอมรับในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งจนในที่สุดพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ ก็ได ทรงคิดสรางพระกริ่งขึ้นบางท ี่เรียกวาพระกร ิ่งปวเรศโดยกล าววาทานไดนํารูปแบบพระกริ่งปทุมของประเทศกัมพูชามาเปนตนแบบจากน ั้นก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นอย างตอเนื่องในประเทศไทยจนถึงปจจุบันโดยส วนใหญพระกริ่งที่สรางขึ้นจะยึดถือตามรูปแบบที่สรางกันมาแตอดีตและม ีความใกลเคี ยงก ับพุทธลักษณะของพระกริ่งจีนคือสร างเปนประต ิมากรรมลอยตัวประทั บขัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว ่ําบัวหงาย 7 คูฐานดานหลังเรียบไมมีลวดลายพระพักตร คอนข างกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารัศม ีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระห ัตถซายถ ือ
54หรือหมอน ้ํามนตครองจีวรหมเฉียงเปดพระอังสาขวาแตงกายอย างนักบวชไม สวมเครื่องประดับในองคพระจะมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งแตขณะเดียวกันอาจมีพุทธล ักษณะที่แตกตางบางในบางสวนเชนล ักษณะของพระองคเพรียวบางไดสัดสวนหร ือพระองคคอนข างอวบอวนการรักษารูปแบบในการสรางพระกริ่งไวนั้นอาจเน ื่องมาจากตองการใหพระกริ่งท ี่สรางขึ้นในชั้นหลังได รับศรัทธาเช นเดียวกับพระกริ่งที่สรางโดยคณาจารยในอดีตสวนด านความเชื่อในการบูชาพระกริ่งในประเทศไทยนั้นชวงแรกนาจะเกิดจากความเชื่อท ี่พระสงฆเขมรนําเขามานั่นเองคือในเร ื่องของอํานาจพุทธคุณดานปองกันอันตรายคณะเดินทางเห็นไดจากเมื่อครั้งที่พระอมรโมลีวัดบุปผารามไดเดินทางไปสงพระมหาปรานราชาคณะธรรมยุติที่ประเทศกัมพูชาขากลับท านไดรับมอบพระกร ิ่งนําติดตัวกลับประเทศไทยนอกจากน ั้นความเช ื่อเกี่ยวกับพระกริ่งในชวงแรกน ั้นก็นาจะเป นเรื่องของการนําพระกริ่งมาแชในน้ําเพื่อทําน้ํามนตใหคนปวยได กิ นน้ํานั้นเพื่อรักษาโรคเชนขอมูลที่กลาววาพระวันรัต(แดง)พระอุปชฌายของสมเด็จ-พระสังฆราช (แพ) อาพาธเปนอหิวาตกโรคโดยสมเด็จพระวชิรญาณวโรรสได รับสั่งให นําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ําพุทธมนตแลวอธิฐานขอใหหายจากโรคเมื่อพระวันรัตฉันทน้ํ าพุทธมนตแลวอาการก็ทุเลาลงจนหายเปนปกติจากขอมูลที่กลาวถึงทั้งสองสวนนั้นแสดงใหเห็นวาความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่เขาสูในประเทศไทยไดรับการยอมร ับทั้งดานปองกันอันตรายขณะเดินทางและการทําน้ํามนตเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยแต เมื่อการแพทยในประเทศไทยดีขึ้นความเช ื่อดานการน ําพระกร ิ่งมาแชน้ําเพ ื่อทําน้ํามนตรักษาอาการเจ ็บปวยคงลดลงเหล ือเพียงความเชื่อดานปองก ันอันตรายแคลวคลาดเท
55 บทที่ 5 บทสรุปจากการศึกษาคนควาเราพบวามีเพียงคัมภีรมหายานลล ิตวิสระของประเทศอินเดียที่มีขอความกล าวสรรเสริญพระพุทธเจาแพทย ผูสามารถปดเปาโรคภัยไขเจ ็บใหหายได และพระพุทธเจ าแพทยสวนใหญ หมายถึงพระไภษัชยค ุรุฯที่เป นตนกําเนิดของพระกริ่งนั่นเองแตชาวอินเด ียนั้นนับถือพระโพธิสัตว อวโลกิเตศวรในฐานะพระพุทธเจาแพทย ตั้งแต สมัยคุปตะอี กทั้งเราไมพบหลักฐานทางศิลปกรรมทั้งที่เปนอาคารหรือรูปเคารพของพระไภษัชยคุรุฯใดๆที่พอจะช ี้ชัดไดวาพระไภษ ัชยคุรุฯมีจุดก ําเนิดในประเทศอ ินเดียเม ื่อพุทธศาสนาฝายมหายานแบบตันตระไดเจริญและเผยแผเขาสูประเทศท ิเบตในพุทธศตวรรษที่ 13 โดยทานคุรุปทมสมภพซึ่งท านไดนําความเชื่อในการนับถือพระไภษ ัชยค ุรุฯเข าสูประเทศนี้อีกทั้งชาวท ิเบตมีความเชื่อในเรื่องปาฏิหาริยและคาถาตางๆจึงท ําใหความเช ื่อในการบูชาพระไภษั ชยคุรุฯเป นที่ยอมรับนํามาส ูการสรางพระกริ่งขึ้นเป นครั้งแรกจากเหตุผลที่ตองการสร างรูปจําลองของพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในการทําน้ํามนตสําหรับรักษาอาการเจ็บปวยแทนการลูบที่องคพระซึ่งเปนความเชื่อเดิมสําหรับพ ุทธลักษณะของพระกริ่งนั้นทําเป นพระพ ุทธรูปประทับนั่งขัดสมาธิเพชรอยูบนฐานบัวที่มีฐานบ ัวเฉพาะด านหนาพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือเครื่องพุทธบริโภคเชนหมอน ้ําหร ือวัชระครองจีวรหมเฉ ียงไมสวมเคร ื่องประดับภายในองคพระบรรจุเม็ดโลหะเล็กๆที่เรียกวาเม็ดกริ่งเม ื่อเขยาองคพระจะกอใหเกิดเสียงด ังกริ๊งๆจากนั้นความเช ื่อดังกลาวได เผยแผเขาสูประเทศจ ีนประเทศกัมพูชาและประเทศไทยในที่สุดซึ่งในประเทศไทยเรานั้นเปนประเทศที่นั บถือพ ุทธศาสนาอยูแลวอีกท ั้งมีความเชื่อในดานคาถาอาคมเปนพื้นฐานเดิมของสังคมเม ื่อความเชื่ อเกี่ยวกับพระกริ่งที่ถือว ามีอํานาจพ ุทธคุณดานรั กษาโรคภ ัยไขเจ ็บตางๆและชวยปองกันอันตรายขณะเดินทางเสม ือนเครื่องรางที่นับถือก ันอยูแตเด ิมในสังคมไทยจึงท ําให พระกริ่งไดรับการยอมร ับและเกิดการคิดสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยขึ้นบางเป นครั้งแรกน ั้นราวพ.ศ. 2425 โดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศ-วริยาลงกรณที่วัดบวรน ิเวศนฯซึ่งการสร างพระกริ่งขึ้นครั้งแรกนี้เชื่อว ามีการสรางขึ้นเพียง 30 องค เพื่อใชแจกจ ายแก เจานายชั้นสูงและเพ ื่อทําน้ํามนตหล ังจากที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยเปนครั้งแรกแล วก็มีการสร างพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบั
ผลการศึกษาดานรูปแบบของพระกริ่งจากจุดเริ่มตนการสรางของพระกริ่งในประเทศไทยที่กลาววามีการนํารูปแบบของพระกริ่งปทุมของเขมรมาเปนตนแบบทําให พุทธล ักษณะของพระกริ่งที่สรางในประเทศไทยเมื่อเริ่มสรางทําเปนประติมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางดานหนาและดานหลัง 1 คู (พระกริ่งปทุมมีฐานบัวเพียงดานหน าอยางเดี ยว) ซึ่ งอาจจะตองการใหตางจากองค ที่นํามาเป นตนแบบพระพ ักตรคอนข างกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทําเป นรัศมีคลายดอกบ ัวตูมพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระหรือหมอน ้ํามนตครองจีวรเฉียงเป ดพระอังสาขวาแตงกายอย างนักบวชไมสวมเครื่องประดับขอบจีวรเรียบไมมีตุมไข ปลาในองคพระมีการบรรจุเม็ดโลหะที่เรียกวาลูกกร ิ่งเพื่อให เวลาเขยาองคพระจะเกิดเสียงด ังกริ๊งกริ๊งซึ่งรูปแบบพระกริ่งที่สรางขึ้นในพุทธลักษณะนี้นับว าเปนพุทธลักษณะสําค ัญที่เป นตนแบบใหการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยในชั้นหลังแตขณะเด ียวกันเมื่อมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยไดระยะหน ึ่งก็มีแนวคิดในการเพิ่มอํานาจพุทธคุณของพระกร ิ่งโดยการนําพุทธลักษณะของพระพุทธรูปในแบบอื่นมาผสมทําให รูปแบบการสร างพระกริ่งในประเทศไทยของกลาวโดยรวมไดเปน 2 กล ุมใหญๆคือ1. กลุมท ี่รักษารูปแบบในการสรางการสรางพระกริ่งในกลุมนี้มีพุทธลักษณะตรงกับที่กําหนดไวในตําราการสรางพระกริ่งตามรูปแบบที่เคยปรากฏในอดีตการสรางพระกริ่งในกลุมนี้พบไดมากกวาอีกกล ุมอี กทั้งม ีการสรางกันอย างตอเนื่องสม ่ําเสมออาจเนื่องจากวัดตางๆท ี่สรางพระกริ่งขึ้นมานั้นตองการใหพระกร ิ่งที่สรางขึ้นเปนที่ยอมรับและเช ื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณเสมือนพระกริ่งที่เคยสรางจึงรักษาร ูปแบบในการสรางไวคือเปนประติมากรรมลอยตัวประทับข ัดสมาธิเพชรบนฐานบัวคว่ําบัวหงาย 7 คูทางด านหนาฐานด านหล ังเรียบไม มีลวดลายพระพักตรคอนขางกลมพระเกศาขมวดเปนกนหอยซอนกัน 2 ชั้นสวนช ั้นบนสุดมักทํารัศม ีคลายดอกบ ัวตูมพระเนตรม ักทําโปนมองลงต่ําหรือไม ก็ทําลักษณะเป นเสนตรงปลายเฉียงขึ้นคลายพระเนตรของพระพุทธรูปแบบจีนพระหัตถขวาแสดงปางมารวิชัยพระหัตถซายถ ือวัชระหรือหม อน้ํามนตครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวามีตุมไข ปลายตามขอบชายจีวรคลายพระพุทธรูปแบบจีนแตงกายอย างนักบวชไมสวมเครื่องประดับในองค พระมีการบรรจุเม็ดโลหะหรือล ูกกริ่งขณะเดียวกันพระกริ่งในกลุมนี้อาจมีพุทธลักษณะที่แตกตางบางเล็กนอยในบางสวนเชนลักษณะของพระองคเพรียวบางไดสัดส วนหรือคอนขางอวบอวนลักษณะพระพ ักตรที่อาจกลมหรือเปนรูปไขพระเนตรมักทําโปนมองลงต่ําหรือไม ก็ทําล ักษณะเปนเส นตรงปลายเฉียงขึ้นตัวอยางพระกริ่งของกลุมนี้ที่สําค ัญเชนพระกริ่งกล ุมวัดสุทั
2. กลุมท ี่ไมรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งการสรางพระกริ่งของกลุมนี้จะมีรูปแบบที่หลากหลายและไม ไดยึดตามร ูปแบบการสรางพระกริ่งที่ยึดถ ือกันมาตั้งแตในอด ีตแตรักษาเพ ียงส ัญลักษณที่สําค ัญคือการบรรจุเม็ดกริ่งไว ในองคพระเพื่อเขยาแลวเก ิดเสี ยงดังกร ิ๊งกร ิ๊งโดยจ ุดเริ่มที่มีการสร างพระกริ่งที่ไมยึดร ูปแบบนาจะเริ่มขึ้นที่วัดบวรน ิเวศนฯจากการสรางพระกริ่งปวเรศที่มีการเพิ่มกลีบบัวคว่ําบัวหงายท ี่ดานหล ังของฐานพระอีก 1 คูหลังจากนั้นการสรางพระกริ่งที่วั ดบวรน ิเวศนฯนี้มีการปรับรูปแบบให มีเอกลั กษณเปนแบบไทยมากขึ้นเชนการสรางพระกริ่งบัวรอบในพ.ศ. 2487 ที่มีพระพักตรแบบไทยและมีกลีบบัวคว ่ําบัวหงายรอบฐานพระการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะในการสรางพระกริ่งที่สําค ัญนาจะเปนการสรางพระกริ่งไพรีพินาศท ี่สรางขึ้นในพ.ศ. 2496 โดยที่พระหัตถมีการเปล ี่ยนแปลงจากเดิมที่ทําปางมารวิชัยเป นปางพระทานอภัยที่พระหัตถขวามีชายส ังฆาฏิสั้นเหน ือพระอังสาซ ายและหลังจากเมื่อมีการสรางพระกริ่งไพรีพิ นาศขึ้นที่วั ดบวรน ิเวศนฯแลวการสร างพระกริ่งขึ้นที่วัดน ี้ก็มั กยึดรูปแบบพระกร ิ่งไพรีพินาศเปนตนแบบในการสรางพระกริ่งในรุนหลังของว ัดนี้นอกจากวัดบวรนิเวศนฯแลวยังมีการสรางพระกริ่งที่ไมยึดร ูปแบบที่เปนลักษณะหลักที่เคยย ึดกันมาในอดีตอีกหลายว ัดแตไม ไดมีการสร างอยางตอเนื่องเชนพระกริ่งว ัดพนัญเชิงวรวิหารจังหว ัดพระนครศรีอยุธยาที่นําพ ุทธลักษณะของหลวงพอโตวัดพน ัญเชิงมาสรางเปนพระกร ิ่งโดยรักษาพุทธลักษณะที่สําค ัญชองพระกริ่งเพียงการใหมีเม ็ดกริ่งอย ูในองคพระหรือการสรางพระกริ่งหลวงพอโสธรที่วัดโสธรวรารามจังหว ัดฉะเช ิงเทราที่นําพ ุทธลักษณะของพระพุทธโสธรมาสรางเปนพระกร ิ่งคือท ําเปนองคพระประท ับขัดสมาธิราบบนฐานเขียง 3 ชั้นพระพักตรสี่เหลี่ยมครองจีวรหมเฉียงเปดพระอ ังสาขวาชายสังฆาฏิพาดบนพระอังสาซายปลายสังฆาฏิยาวจรดพระนาภีพระหัตถแสดงปางสมาธิไมมีหมอน ้ํามนตบนฝาพระห ัตถในองค พระบรรจุลูกกร ิ่งไวการสรางพระกริ่งในกลุมนี้คงไมเปนที่ไดรับความเชื่อถือมากนักจากการที่ไม มีการสรางขึ้นอยางตอเนื่องในแตละวัดแต แนวคิ ดในการสร างพระกริ่งที่ไมยึดติ ดกับพุทธลักษณะเดิมนาจะเก ิดจากการที่ผูสร างตองการใหพระกริ่งท ี่สรางขึ้นใหมมีอํานาจพ ุทธคุณที่เป นอํานาจพ ุทธคุณเดิมของพระกริ่งรวมกับอํานาจพุทธคุณของพระท ี่มาเปนตนแบบนั้นๆเชนพระกร ิ่งไพรีพินาศที่มีพุทธล ักษณะผสมผสานระหวางลักษณะของพระกริ่งกับพระไพร ีพินาศเก ิดความเชื่อถือวามีอํานาจพุทธค ุณดานปองกันภัยอันตรายตางๆและปองกันไมใหศัตรูมาท ําลายจากขอมูลในขางตนทําใหเราพอสรุปไดวาในสวนของร ูปแบบหรือพุทธลักษณะของพระกริ่งมีผลตอความเชื่อม ั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งเห ็นไดจากพระกร ิ่งที่สรางขึ้นตามวัดตางๆม ักจะรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งไวอยางเครงครัดกอให เกิดศรัทธาและเช ื่อมั่นในอํานาจพุทธค ุณของพระกริ่งเหลาน ั้นสวนพระกริ่งท ี่สรางขึ้นโดยไมรักษาพ ุทธลักษณะของพระกริ่งมักไมไดรับความน ิยมหรือประชาชนทั่วไปไม คอยศรัทธาในอํานาจพุท
ผลการศึกษาดานความเชื่อหรืออํานาจพ ุทธคุณจากจุดเริ่มตนของการสรางพระกริ่งในประเทศทิเบตโดยสรางข ึ้นเพื่อเปนรูปจําลองพระไภษัชยคุรุฯเพื่อใชในการทําพิธีกรรมเพ ื่อรักษาผูที่มีอาการเจ็บปวยดังน ั้นความเช ื่อในการบูชาพระกริ่งเมื่อเริ่ มสรางจึงเปนความเชื่อในอํ านาจพุทธคุณเดียวกับพระไภษัชยค ุรุฯน ั่นเองคือชวยในการรักษาโรคภัยตางๆเม ื่อความเชื่อน ี้เขาสูประเทศก ัมพูชานั้นเชื่อกันวามีการรวมจตุรอาถรรพณคือธรรมภาวะป ูชายศภาวะปูชามารภาวะปูชาและเมตตาภาวะปูชาซึ่งเป นความเชื่อที่พระองคสามารถขจัดภัยอันตรายตางๆชวยให หายจากโรคภัยไขเจ็บและใหเกิดความสุขความเจริญแตอาจเนื่องจากในประเทศกัมพูชานิยมนับถือศาสนาพราหมณมากกวาศาสนาพุทธจึงเป นเหตุใหพระกริ่งและความเชื่อเกี่ยวกับพระกริ่งปรากฏในชวงระยะเวลาอันสั้นสําหรับประเทศไทยเม ื่อความเชื่อในการบูชาพระกริ่งเขาสูประเทศไทยในชวงแรกเชื่อกันว าไดรับความเช ื่อจากพระสงฆชาวกัมพูชาที่มาศ ึกษาพุทธศาสนาในประเทศไทยซึ่งพระสงฆ เหลานั้นไดนําพระกร ิ่งติดตั วมาดวยเพื่อใหอํานาจพ ุทธคุณปองก ันภยันตรายขณะเดินทางขณะเดียวกันก็มีความเช ื่อในอํานาจพุทธคุณที่ชวยร ักษาอาการเจ็บปวยจากการที่มีการนําพระกริ่งมาทําน ้ํามนตใหคนปวยไดกิ นน้ํามนตนั้นเพ ื่อรักษาโรคแตหล ังจากที่มีการสร างพระกริ่งขึ้นอยางสม่ําเสมอที่วัดส ุทัศน ฯเราพบว าความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณของพระกริ่งในการใชแชเพื่อทําน้ํามนตเพื่อรักษาอาการเจ็บปวยก็คอยๆหายไปซึ่งอาจเน ื่องมาจากในชวงเวลาดังกลาวระบบการแพทยของไทยมีการพัฒนามากขึ้นคนท ั่วไปจ ึงไมไดใชน้ํามนต เพื่อรักษาอาการเจ็บปวยอีกดังน ั้นความเช ื่อในอํานาจพ ุทธคุณของพระกริ่งที่เราพบในปจจุบันจะม ีความเชื่อถือในอํานาจพ ุทธคุณที่วาสามารถปองก ันและขจ ัดภัยอันตรายตางๆแคลวคลาดจากอุบัติภั ยทั้งปวงจากการที่การสรางพระกริ่งในประเทศไทยมีการกําหนดรูปแบบหรือพุทธลักษณะออกเปน 2 กลุมใหญๆน ั้นทําให ความเชื่อในการนับถื อพระกริ่งก ็ถูกแบ งออกเปน 2 กลุมดวยเช นกันคือกลุมท ี่ยึดติ ดกับรูปแบบตามที่เคยสรางมักจะได รับศร ัทธาและความเชื่อมั่นในอํานาจพุทธคุณของพระกริ่งชัดเจนที่สุดซึ่งสวนใหญ เปนความเชื่อในอํานาจพุทธคุณดานปองกันอันตรายแคล วคลาดและชวยรักษาโรคภัยตางๆในขณะที่อีกกล ุมหนึ่งที่มีการน ําพุทธลักษณะที่สําค ัญของพระพุทธร ูปอื่นๆมาผสมกับพุทธลักษณะของพระกริ่งทําให เกิดความเชื่อในอ ํานาจพุทธคุณที่เปลี่ยนแปลงไปตามพุทธลักษณะและอํานาจพุทธคุณของพระพ ุทธรูปอื่นที่มาสรางเปนพระกริ่งเชนการมีอํานาจพ ุทธคุณดานการปองกันและขจัดศัตรูด านเมตตามหานิยมแตส วนใหญมักถ ือวาพระกริ่งที่สรางขึ้นนั้นไมวาจะร ักษาพุทธลักษณะเดิมไวหรือไมก็ตามในป จจุบันน ี้ก็ถือว าพระกริ่งทุกองค มีอํานาจพ ุทธคุณหลักดานปองกันอันตรายและแคลวคลาดเปน
โดยสรุปแลวเราคงกลาวไดวาการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยนั้นคงสรางขึ้นครั้งแรกโดยพระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณที่วั ดบวรนิเวศนฯในราวพ.ศ. 2425 ซึ่งทานได รับความเช ื่อมาจากพระสงฆชาวกัมพูชาและเม ื่อมีการสรางพระกริ่งขึ้นในประเทศไทยแลวก็เก ิดศรัทธาและม ีการสรางตอเนื่องกันจนถึงปจจุบันโดยม ีการแบ งรูปแบบของพระกริ่งไดเปนสองกลุมใหญคือกล ุมที่รักษาร ูปแบบเดิมกับกล ุมที่มีการเปลี่ยนแปลงพุทธลักษณะซึ่งจากร ูปแบบของพระกริ่งที่มีความแตกต างกันในสองกลุมนี้ทําให ความเชื่อในอํานาจพ ุทธคุณมีความแตกตางกันดวยแตไม มากนักซึ่งความเช ื่อในอํานาจพ ุทธของพระกร ิ่งที่สรางในประเทศไทยนี้มักเชื่อกันวามีอํานาจพุทธค ุณดานปองกันอันตรายขจัดภัยพิบัติต างๆดานต ําราที่ใช ในการสรางพระกริ่งในประเทศไทยนั้นมักกลาวกันวาไดรับสืบทอดกันมาตั้งสมัยอยุธยาจากพระพนรัตซึ่งรับมาจากพระสงฆเขมรอีกตอหนึ่งแตช วงเวลาที่พระพนรั ตมีพระชนมอยูนั้ นเปนชวงกลางสม ัยกรุงศรีอยุธยาราวพ.ศ. 2130 (สมัยพระนเรศวรมหาราช) ซึ่งในชวงเวลาด ังกล าวในประเทศกัมพูชาศาสนาพุทธไมไดรับการยอมร ับแลวอีกทั้งเราย ังไมสามารถพิสูจน ถึงการม ีอยูจริงของตําราดังกลาวได ดังน ั้นในดานตําราการสรางคงไดแตเป นเรื่องท ี่พูดต อกันมาวาไดรับถายทอดก ันมาจากตําราการสรางพระกริ่งของประเทศกัมพูชาแตยังไม สามารถยืนยันได อยางชัดเจนแมวาต นกําเนิดของพระกริ่งจะความเช ื่อที่เกิดขึ้นในพ ุทธศาสนาฝายมหายานแตเม ื่อความเชื่อในการนับถือพระกริ่งไดเผยแผเขาสูประเทศไทยแลวความเชื่อดังกลาวก ็เปนที่ยอมรับและทําเก ิดเกิดการสร างพระกริ่งขึ้นอยางตอเนื่องในประเทศไทยเปนเวลากวา 100 ปจนในปจจุบันน ี้พระกริ่งถือว าเปนพระเครื่องที่ไดรับศร ัทธาจากคนไทยอยางมากมายจนถือเป นพระเคร ื่องที่สําค ัญของไทยประเภทหนึ่งเลยทีเดียว
บรรณานุกรมหนังสือภาษาไทยกรมศิลปากร. จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันภาค 19. นครปฐม : โรงพ ิมพสนามจันทร, 2484. ฉัตรส ุมาลยกบิลส ิงห, ผูแปล. ไภส ัชยาคุรุ ไวฑูรยประภาตถาคตสูตร .กรุงเทพฯ : แสวงสุทธิการ- พิมพ , 2529. ชัยมงคลอ ุดมทรัพย. อภินิ หารพระเครื่องและเวทมนตคาถาศักดิ์สิทธิ์. กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ รุง-วิทยา, 2512. ณัฐว ุฒ ิสุทธ ิสงคราม. พระประว ัติและผลงานส ําคัญของสมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยา- ปวเรศวชิยาล งกรณ : ผูประทานกํ าเนิดพระกริ่งไทย. กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสน การ-พิมพ, 2524. ดวงธรรมโชนประทีป. พระกร ิ่ง “ฉบับสมบ ูรณ”.กรุงเทพฯ : บรรณาคาร, 2508. ดํารงราชาน ุภา พ, สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยา. ตํานานพระพ ุทธเจดีย. พิมพ ครั้งที่ 3 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2518. __________.นิราศนครว ัด.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ คลังป ญญา, 2537. ตอมรพันธ, พระเจ าบรมวงศเธอกรมพระสนม.ตั้งพระราชาคณะผูใหญในกร ุงรัตนโกส ินทร.กร ุงเทพฯ : โรงพิมพโสภณพิพรรฒธนากร, 2466.ผาสุขอินทราว ุธ. พุทธปฏิมาฝ ายมหายาน.กรุงเทพฯ : โรงพิมพอักษรสม ัย, 2543 . พ. สุวรรณ [นามแฝง].ประวัติความเป นมาพระไพรีพินาศ.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ แสงดาว- สรอยทอง, 2540. พระพุทธเลิศหลานภาลัย, พระบาทสมเด็จ.เสภาเร ื่องขุนชางขุนแผน.กรุงเทพฯ : ศิลปาบรรณาคาร, 2513. พินัยศักดิ์เสน ีย.นามานุกรมพระเครื่อง.กรุงเทพฯ : สําน ักพิมพ ผดุงศึกษา, 2502. ภุชชงค จันทว ิช. “พระมาลาเบี่ยงเลี่ยงสมัย” วารสารศิลปว ัฒนธรรม. 6, 9( ก.ค. 2528): 43. มอนตจันทนากร. ทําเน ียบพระกริ่งพระชัยวัฒน.กรุงเทพฯ : นครชางการพิมพ, 2527
มาดแลนจิโต. ประว ัติเม ืองพระนครของขอม. แปลโดยหม อมเจาสุภั ทรดิศดิศก ุล. พิมพ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ มติชน, 2543. มูลน ิธ ิวัดบวรนิเวศวิหาร. พระกร ิ่งพระชัยวัฒนปวเรศวัดบวรน ิเวศวิหาร. กร ุงเทพฯ : โรงพ ิมพมหามกุฎราชว ิทยาลัย, 2539. ___________. วัดบวรนิเวศวิหาร.พิมพ ครั้งที่ 2 .กร ุงเทพฯ : ศิวพรการพ ิมพ,2517. มูลน ิธ ิสิรินธรราชวิทยาลัย. พระเครื่องวัดบวร. กร ุงเทพฯ : บริษัทเมเนเจอรมีเด ียกรุปจําก ัด(มหาชน) 2541. ไมตรีบันเท ิงสุข.พระกริ่งปวเรศ.กร ุงเทพฯ : ทว ิพัฒน การพิมพ, 2546. ยอรชเซเดส. ตํานานอักษรไทยตํานานพระพ ิมพขุดค นที่พงตึกฯลฯและศิลปสุโขท ัย. พิมพ ครั้งท ี่ 2 .กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพร าว, 2526. ศรีศักรวัลลิโภดม. พระเคร ื่องในเมืองสยาม. พิมพ ครั้งที่ 2 .กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ มติชน, 2537. สมคิดศรีสิงห . ตํานานพระกริ่งนเรศวร.ม.ป.ท.,ม.ป.ป. สมาคมสํานักวัดสุทัศนเทพวราราม. ตํานานพระกริ่ง-กริ่ง.กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิชจํากัด, 2517. __________. พระกริ่งคูแผนดิน.กรุงเทพฯ : บริษัทคอมม าดีไซน แอนดพริ้นทจําก ัด, 2546. สายันตไพรชาญจิตร. “อโรคยศาล,” สยามอารยะ 2 , 10 (2536) :31. สุภัทรด ิศดิศก ุล, หม อมเจา. ประวัติศาสตร ศิลปะประเทศใกลเคียง.กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ มติชน, 2538. ___________. ศิลปะขอม.กร ุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพร าว, 2539. ___________. ศิลปะในประเทศไทย. กร ุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาล ัยธรรมศาสตร, 2538. เสธียรพันธร ังษี. พุทธศาสนามหายาน.กร ุงเทพฯ : สําน ักพิมพ ประยูรวงศ , 2512. แสงมนวิทูร, ผูแปล. คัมภ ีร ลลิตว ิสตระ: พระพุทธประวัติฝายมหายาน.ตอนที่ 1 อัธยายท ี่ 1. พระนคร : กรมศิลปากร, 2512.
ภาษาตางประเทศNandana Chutiwongs. “The Iconography of Avalokitesvara in Mainland of South East Asia”. Ph.D. Art History Leiden University, 1984.
วารสารและเอกสารอื่นชุติเทพหิรัญร ักษ (ผูบันท ึกขอมูล). สมเด็จพระสังฆราชไทย [On line]. Accessed 9 June 2002. Available from http://www.heritage. thaigov.net/religion/cardinal/index4.htm. 2. ประมุขกาญจนว ัฒน. พระกร ิ่งบาเก็ง [On line].Accessed 6 July 2001. Available from http:// www. Tumnan.com /pra_kring/pra_kring _ j.html. 1 __________. พระกริ่งหนองแส [On line]. Accessed 6 July 2001. Available from http:// www. Tumnan.com /pra_kring/pra_kring _ j.html. 1 __________.Boor_rob [On line]. Accessed 7 June 2002. Available from http://www.tumnan.com/ pra_kring/pra_kring_d.html. 1. __________. Pawa_res[On line]. Accessed 6July 2001, Available from Http://tumnan.com/pra_kring. 1. __________. Pairee [On line]. Accessed 10 June 2002. Available from http://www.tumnan.com/ pra_kring/pra_kring_e.html. 1. มาลิน ีคัมภ ีรญาณนนท, “ประว ัติศาสตร จีน,” เอกสารค ําสอนวิชาสัมมนาศ ิลปะจีนภาควิชาประวัต ิศาสตร ศิลปะ, บัณฑ ิตวิทยาลัยมหาว ิทยาลัยศ ิลปากร, 2542, 2. (อัดสําเนา) สัมภาษณ เสนอศุกรากย ูร. หัวหน าฝ ายราชูปโภค. สัมภาษณ , 25 กันยายน 2545